920 likes | 1.22k Views
003 471 – ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการคลัง. บทที่ 6 บทบาท ของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น. ผู้ช่วยศาสตราจารย์มานิตย์ ผิวขาว สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย. หัวข้อ. 1. เทคโนโลยีสารสนเทศกับระบบสารสนเทศ
E N D
003 471 – ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการคลัง บทที่ 6บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์มานิตย์ ผิวขาว สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
หัวข้อ 1.เทคโนโลยีสารสนเทศกับระบบสารสนเทศ 2.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาระบบสารสนเทศ 3.การบริหารจัดการภาครัฐ 4.การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น
คำถาม 1.เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในการพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างไรบ้าง? • 2. ระบบสารสนเทศนำมาใช้ในการบริหารจัดการท้องถิ่นอย่างไร?
เทคโนโลยีสารสนเทศกับระบบสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศกับระบบสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ประกอบขึ้นด้วยระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และอุปกรณ์สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศที่มีการวางแผน จัดการ และใช้ง่านร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ มีองค์ประกอบสำคัญ 3 ประการ 1. ระบบประมวลผล ความซับซ้อนในการปฏิบัติงานและความต้องการสารสนเทศที่หลากหลาย ทำให้การจัดการและการประมวลผลข้อมูลด้วยมือ ไม่สะดวก ช้า และอาจผิดพลาด ปัจจุบันองค์การจึงต้องทำการจัดเก็บและการประมวลผลข้อมูลด้วยระบบอีเล็กทรอนิกส์ โดยใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สนับสนุนในการจัดการข้อมูล เพื่อให้การทำงานถูกต้องและรวดเร็วขึ้น 2. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม การสื่อสารข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญสำหรับการจัดการและประมวลผล ตลอดจนการใช้ ข้อมูลในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศที่ดีต้องประยุกต์เทคโนโลยีอีเล็กทรอนิกส์ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างระบบคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์อีเล็กทรอนิกส์ และผู้ใช้ที่อยู่ห่างกัน ให้สามารถสื่อสารกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. การจัดการข้อมูล
คุณสมบัติของข้อมูล • 1. ความถูกต้อง • 2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน • 3. ความสมบูรณ์ • 4. ความชัดเจนและกะทัดรัด • 5. ความสอดคล้อง • การทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่จะเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน จำเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการดำเนินการ เริ่มตั้งแต่การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การดำเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ และการดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน
การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การดำเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ และการดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน • 1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย 1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมีจำนวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่างทันเวลา 1.2 การตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข 2. การดำเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 2.1 การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สำหรับการใช้งาน 2.2 การจัดเรียงข้อมูล 2.3 การสรุปผล 2.4 การคำนวณ เพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ 3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ประกอบด้วย 3.1 การเก็บรักษาข้อมูล 3.2 การค้นหาข้อมูล มีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการทำงาน ทำให้การเรียกค้นกระทำได้ทันเวลา 3.3 การทำสำเนาข้อมูล 3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่
ความแตกต่างและความเหมือนกันของเทคโนโลยีสารสนเทศกับระบบสารสนเทศความแตกต่างและความเหมือนกันของเทคโนโลยีสารสนเทศกับระบบสารสนเทศ IT : Information Technology หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่มีความเกี่ยวข้องกับการเก็บวิเคราะห์ข้อมูล และประมวลผลสารสนเทศทำให้สารสนเทศนั้นมีประโยชน์ และสามารถใช้งานได้หลากหลายมากขึ้น IS : Information Systems หรือ ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบของการจัดเก็บประมวลผลข้อมูล โดยอาศัยบุคคลและเทคโนโลยีสารสนเทศในการดำเนินการ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมกับงานหรือภารกิจแต่ละอย่าง IT และ IS เหมือนกันตรงที่มีการจัดเก็บและประมวลผลสารสนเทศ ต่างกันตรงที่ IT จะทำให้สารสนเทศนั้นมีประโยชน์และใช้งานได้หลากหลาย แต่ IS จะทำให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมกับงานหรือภารกิจแต่ละอย่าง
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาระบบสารสนเทศบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS)http://202.143.156.4/edplaza/index.php?option=com_content&view=article&id=54:mis&catid=29:2010-05-16-09-38-11&Itemid=53ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS)http://202.143.156.4/edplaza/index.php?option=com_content&view=article&id=54:mis&catid=29:2010-05-16-09-38-11&Itemid=53 • - คือระบบที่ให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะรวมทั้ง สารสนเทศภายในและภายนอก สารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งสิ่งที่คาดว่าจะเป็นในอนาคต นอกจากนี้ระบบเอ็มไอเอสจะต้อง ให้สารสนเทศ ในช่วงเวลาที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่างถูกต้อง • -สนับสนุนการทำงานของระบบประมวลผลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลรายวัน ใช้ฐานข้อมูลที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน และสนับสนุนการทำงานของฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กร ช่วยให้ผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS)http://202.143.156.4/edplaza/index.php?option=com_content&view=article&id=54:mis&catid=29:2010-05-16-09-38-11&Itemid=53ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS)http://202.143.156.4/edplaza/index.php?option=com_content&view=article&id=54:mis&catid=29:2010-05-16-09-38-11&Itemid=53 • -การนำไปใช้งานสามารถแบ่งได้ 4 ระดับดังนี้1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการวางแผนนโยบาย กลยุทธ์ และการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในส่วนยุทธวิธีในการวางแผนการปฏิบัตและการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง 3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในระดับปฎิบัติการและการควบคุมในขั้นตอนนี้ผู้บริหารระดับล่างจะเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อช่วยในการปฎิบัติงาน 4. ระบบสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS)http://202.143.156.4/edplaza/index.php?option=com_content&view=article&id=54:mis&catid=29:2010-05-16-09-38-11&Itemid=53ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS)http://202.143.156.4/edplaza/index.php?option=com_content&view=article&id=54:mis&catid=29:2010-05-16-09-38-11&Itemid=53 • -งแบ่งระบบสารสนเทศออกเป็นระบบย่อย 4 ส่วนได้แก่ -ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing System :TPS) -ระบบจัดการรายงาน (Management Reporting System :MRS) -ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System :DSS) -ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information System :OIS)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS)http://202.143.156.4/edplaza/index.php?option=com_content&view=article&id=54:mis&catid=29:2010-05-16-09-38-11&Itemid=53ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS)http://202.143.156.4/edplaza/index.php?option=com_content&view=article&id=54:mis&catid=29:2010-05-16-09-38-11&Itemid=53 • -งแบ่งระบบสารสนเทศออกเป็นระบบย่อย 4 ส่วนได้แก่ -ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing System :TPS) -ระบบจัดการรายงาน (Management Reporting System :MRS) -ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System :DSS) -ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information System :OIS)
การปรับตัวขององค์การในยุคสารสนเทศการปรับตัวขององค์การในยุคสารสนเทศ • 1. ติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น ตลอดจนทำความเข้าใจบทบาทของเทคโนโลยีใหม่ที่จะมีผลกระทบต่อองค์การและในอนาคต2. พิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและกำลังเกิดขึ้นในแต่ละหน่วยงาน โดยเฉพาะความต้องการทางด้านข้อมูลข่าวสาร เพื่อหาแนวโน้มความต้องการ จัดทำแผน และแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีขององค์การ3. เตรียมความพร้อมด้านบุคลากรและงบประมาณ เพื่อรองรับต่อการนำเทคโนโลยีมาใช้ เนื่องจากการจัดการเทคโนโลยีไม่สามารถใช้เงินซื้อหามาเพียงอย่างเดียว แต่ต้องมีความเข้าใจในศักยภาพและความพร้อมของบุคลากรประกอบด้วย
การปฏิบัติตนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศการปฏิบัติตนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ • 1. ทำความเข้าใจต่อบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจปัจจุบัน 2. ระบบสารสนเทศเกี่ยวข้องกับการจัดการข้อมูลขององค์การ 3. วางแผนที่จะสร้างและพัฒนาระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต(บางส่วน)เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต(บางส่วน) -คอมพิวเตอร์ (Computer) -ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (Executive Information System ; EIS) -การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Data Interchange ; EDI) เป็นการส่งข้อมูลหรือข่าวสารจากระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งไปสู่ระบบคอมพิวเตอร์อื่น โดยผ่านทางระบบสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ -อินเตอร์เน็ต (Internet) -ระบบเครือข่าย (Networking System) โดยเฉพาะระบบเครือข่ายเฉพาะพื้นที่ (Local Area Network, LAN)
เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต(บางส่วน)เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต(บางส่วน) -ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(Geographic Information System ; GIS) เป็นการนำเอาระบบคอมพิวเตอร์ทางด้านรูปภาพ (Graphics) และข้อมูลทางภูมิศาสตร์มาจัดทำแผนที่ในบริเวณที่สนใจ GIS สามารถนำมาประยุกต์ให้เป็นประโยชน์ในการดำเนินกิจการต่าง ๆ เช่น การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) การกำหนดนโยบายการพัฒนาประเทศและท้องถิ่น การวางแผนทางการตลาด การบริหารการขนส่ง การสำรวจและวางแผนป้องกันธรรมชาติ การช่วยเหลือและกู้ภัย เป็นต้น
ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ http://pirun.kps.ku.ac.th/~b5128209/3/index3.htm • -
การพัฒนาระบบสารสนเทศ http://thailocal.nso.go.th/nso-cms/itdevelop.html • -
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา:การพัฒนาระบบสารสนเทศสำนักงานสถิติแห่งชาติhttp://thailocal.nso.go.th/nso-cms/itdevelop.htmlบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา:การพัฒนาระบบสารสนเทศสำนักงานสถิติแห่งชาติhttp://thailocal.nso.go.th/nso-cms/itdevelop.html • -ความจำเป็นในการพัฒนาระบบสารสนเทศ • -องค์ประกอบในการพัฒนาระบบ • -ทีมงานพัฒนาระบบ
กิจกรรม • 1. เทคโนโลยีสารสนเทศมีส่วนช่วยในการพัฒนาระบบสารสนเทศได้อย่างไรบ้าง? และจะพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยในการพัฒนาระบบสารสนเทศได้อย่างไร?
การบริหารจัดการภาครัฐการบริหารจัดการภาครัฐ
การบริหารจัดการภาครัฐการบริหารจัดการภาครัฐ • -การปฏิรูประบบราชการ • -ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Based Budgeting) • -ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ(GFMIS) • -การบริหารจัดการที่ดี หรือหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) • -การบริหารความเสี่ยงและการบริหารเชิงกลยุทธ์
ทำไมถึงต้องปฏิรูประบบราชการทำไมถึงต้องปฏิรูประบบราชการ • เพื่อพัฒนาระบบบริหารราชการให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและทันสมัย • เพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนาทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม • เพื่อวางรากฐานการพัฒนาประเทศให้มีศักยภาพสูง สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ • ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีคุณภาพ คุณธรรมและจิตสำนึกในการบริการประชาชน
ทำไมถึงต้องปฏิรูประบบราชการทำไมถึงต้องปฏิรูประบบราชการ • สร้างระบบบริการของรัฐให้รวดเร็ว เสมอภาค เป็นธรรม โปร่งใส เป็นที่พอใจของประชาชน • ส่งเสริมการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารและการดำเนินการของรัฐ
จุดมุ่งหมาย • เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน • เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ • เกิดความมีประสิทธิภาพ - การใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า - ฉับไวต่อการตอบสนองประชาชน • เกิดความคุ้มค่าในการปฏิบัติงานและได้รับความเชื่อถือจากประชาชน
คุณค่าของการบริหารโดยวิธีการบูรณาการคุณค่าของการบริหารโดยวิธีการบูรณาการ • เกิดมิติใหม่ในการทำงานลักษณะยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ • เกิดมิติการทำงานในลักษณะการเริ่มต้นจากพื้นที่ • เกิดเป็นวาระแห่งชาติ • ลดภาระของรัฐบาล • ลดและแก้ไขปัญหาการบริหารงานที่มีทรัพยากรจำกัด • ปลุกกระแสและสร้างนวัตกรรมใหม่
อุปสรรคจากการบริหารงานโดยวิธีบูรณาการอุปสรรคจากการบริหารงานโดยวิธีบูรณาการ • ทัศนคติของสมาชิกในองค์กร • การมอบอำนาจการบริหาร • งบประมาณที่จำกัด • บทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชน
ระบบราชการยุคสังคมข่าวสารระบบราชการยุคสังคมข่าวสาร • เน้นผลงาน • เป็นองค์การเรียนรู้ • มีอิสระในการบริหาร • รับผิดชอบ • มืออาชีพ • ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
แผนแม่บทของการปฏิรูประบบราชการแผนแม่บทของการปฏิรูประบบราชการ • การจัดกลุ่มภารกิจของรัฐ • จัดโครงสร้างส่วนราชการให้สอดคล้องกับการจัดกลุ่มภารกิจ • การกระจายอำนาจการปกครองสู่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น • มอบอำนาจการบริหารราชการจากกระทรวงไปสู่จังหวัดและประชาชน • ปรับปรุงกลไกการบริหารงบประมาณแผ่นดิน
แผนแม่บทของการปฏิรูประบบราชการ(ต่อ)แผนแม่บทของการปฏิรูประบบราชการ(ต่อ) • แปรสภาพกิจกรรมของรัฐเป็นกิจกรรมเอกชน • ปรับปรุงโครงสร้างและระบบงานรัฐวิสาหกิจ • ลดขนาดกำลังคนของหน่วยงานของรัฐ • พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ปรับปรุงการทำงานของหน่วยงานของรัฐ
แนวทางการปฏิรูป • คิดแตกต่างจากเดิมในเรื่องบทบาทของรัฐ ลดละเลิกงานที่มิใช่งานหลัก • คิดแตกต่างจากเดิมเกี่ยวกับผู้ใช้บริการ ประชาชนคือลูกค้าของรัฐบาล ต้องทำ One stop service ให้ได้ • คิดแตกต่างจากงานด้านการสนับสนุน ลดค่าใช้จ่ายด้านนี้ลงให้ได้ร้อยละ 30
แนวทางการปฏิรูป (ต่อ) • คิดแตกต่างไปจากเดิม - เจ้าหน้าที่ไม่จำเป็นต้องเป็นข้าราชการ - การบริหารโครงการ - วัฒนธรรมการเรียนรู้ • เปลี่ยนค่านิยมและทัศนคติ - เปลี่ยนค่านิยมดั้งเดิม - สร้างค่านิยมแบบผู้ประกอบการ - คิดอย่างสร้างสรรค์
แนวทางการปฏิรูป (ต่อ) • เรียนรู้ในเทคโนโลยีใหม่ๆ • ขจัดการทุจริตให้หมดไป • คิดทางเลือกหลายๆทาง
การปฏิรูประบบราชการDavid Osborne และTed Gabler • รัฐบาลกำหนด ชี้ทิศทางมากกว่าทำเอง • ให้ผู้ปฏิบัติมีอำนาจในการแก้ปัญหาและตัดสินใจ • แข่งขันการให้บริการ และเป็นบริการที่มีคุณภาพ • ทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ • สนองความต้องการของประชาชนมิใช่ความต้องการของระบบราชการ
การปฏิรูประบบราชการDavid Osborne และTed Gabler • รัฐคิดการล่วงหน้า มุ่งป้องกันมากกว่ารักษา • กระจายอำนาจ จาก ระบบชั้น(Hierarchy)ไปสู่การมีส่วนร่วม(Participation) และ การทำงานเป็นทีม(Teamwork) • องค์กรของรัฐเป็นผู้อำนวยความสะดวก ส่งเสริม สนับสนุน แทนการเป็นผู้ผลิตและให้บริการมวลชน • ครบวงจร
ประชาชนจะได้อะไรจากการปฏิรูประบบราชการประชาชนจะได้อะไรจากการปฏิรูประบบราชการ • ได้รับบริการที่ดี มีคุณภาพ สะดวก รวดเร็ว เป็นธรรม • ได้รับการดูแล คุ้มครองสิทธิ เสรีภาพที่ดี • ได้รับความช่วยเหลือ เกื้อหนุนในประกอบกิจการเพื่อประโยชน์ของประเทศชาติโดยรวม • ได้รับการมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย ตัดสินใจและดำเนินกิจการที่รัฐไม่ควรทำเองหรือควรทำในบางส่วน • ได้รับสิทธิในการตรวจสอบและการชี้แจงเกี่ยวกับการทำงานของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ปฏิรูปราชการแล้วราชการจะเป็นอย่างไรปฏิรูปราชการแล้วราชการจะเป็นอย่างไร • มีความรับผิดชอบ • มองการณ์ไกล ทันสมัย ทันโลก • เข้มแข็ง ยืนหยัดเคียงข้างประชาชน • ได้รับความไว้วางใจ เชื่อถือ ศรัทธา • มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล • มีความซื่อตรง โปร่งใส
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Based Budgeting)
วงจรกระบวนการงบประมาณกับระบบจัดการทางการเงินวงจรกระบวนการงบประมาณกับระบบจัดการทางการเงิน 2. การกำหนดผลผลิตและการคำนวณต้นทุนผลผลิต 1. การวางแผนงบประมาณ การวางแผน/จัดทำงบประมาณ 3. การควบคุมงบประมาณ 5. การบริหารการจัดซื้อจัดจ้าง 6. การบริหารสินทรัพย์ 7. การตรวจสอบภายใน การอนุมัติงบประมาณ การติดตาม/ทบทวนและทำรายงาน การบริหารงบประมาณ 4. การรายงาน
ความสัมพันธ์ระบบงบประมาณกับบัญชีการเงินของ อปท. • ระบบบัญชีเป็นเครื่องมือในการบริหาร วิเคราะห์ และรายงานข้อมูลการเงินเพื่อประโยชน์การวางแผน การตัดสินใจเกี่ยวกับต้นทุนและควบคุมงบประมาณ • ระบบบัญชีต้องเรียบง่าย เข้าใจง่ายสำหรับผู้ใช้ • ระบบบัญชีต้องครบถ้วนทุกกิจกรรมที่เกิดขึ้น • ระบบงบประมาณไม่สามารถทำได้ ถ้าไม่มีการายงานผลทางการเงินและการบัญชีที่ดี
ข้อแตกต่างระบบบัญชีของ อปท. จากภาครัฐอื่นๆ • การใช้ระบบกลุ่มรายจ่าย (Fund System) • รายจ่ายงบกลาง • รายจ่ายประจำ • รายจ่ายลงทุน • รายจ่ายพิเศษ • การใช้กฎ ระเบียบเพื่อควบคุมการเบิกจ่ายที่รัดกุมทำให้ไม่สามารถแสดงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการใช้จ่าย • ระบบบัญชีที่เป็นเงินสด แต่การรายงานที่เป็นเกณฑ์ค้างรับ-ค้างจ่าย
ระบบบัญชีและระบบงบประมาณระบบบัญชีและระบบงบประมาณ • ระบบบัญชีเป็นการมองย้อนในอดีต และระบบงบประมาณเป็นการทำงานไปในอนาคต • ระบบงบประมาณใช้เพื่อการวางแผน และการบริหารรายรับ-รายจ่ายของ อปท. • วัตถุประสงค์และเป้าหมายการบริหารจะบรรจุอยู่ในงบประมาณ
ประเภทของระบบงบประมาณประเภทของระบบงบประมาณ • งบประมาณแบบแสดงรายการ (Line Item Budget) • งบประมาณแบบแผนงาน (Program Budgeting) • งบประมาณแบบแสดงผลงาน (Performance Based Budgeting)
งบประมาณแบบแสดงรายการ (Line Item Budget) ตัวอย่าง งบประมาณแบบแสดงรายการ รายการ จำนวนเงิน 01 เงินเดือน ค่าจ้าง 100,000 02 วัสดุครุภัณฑ์ 200,000 03 ค่าตอบแทน 50,000
งบประมาณแบบแสดงแผนงาน (Program Budgeting) ตัวอย่าง งบประมาณแบบแผนงาน แผนงานรักษาความเรียบร้อย จำนวนเงิน งานดับเพลิง 100,000 งานดูแลความเรียบร้อย 200,000 รวม 300,000 แผนงาน สวัสดิการสังคม งานสงเคราะห์คนชรา 50,000 งานการศึกษา 100,000 รวม 150,000 รวมทั้งสิ้น450,000
งบประมาณแบบแสดงผลงาน (Performance Budgeting) ตัวอย่าง งบประมาณแบบแสดงผลงาน การดูแลการขนส่ง จำนวนเงิน ระยะทางก่อสร้าง 10 กิโลเมตร ต้นทุนก่อสร้าง กิโลเมตรละ 100,000 บาท รวมเป็นเงิน 1,000,000 บาท การดูแลคุณภาพเยาวชน ก่อสร้างศูนย์เยาวชน 1 ศูนย์ ค่าก่อสร้างศูนย์ละ 500,000 บาท รวมเป็นเงิน 500,000 บาท รวมทั้งสิ้น1,500,000 บาท
ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ(GFMIS)ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ(GFMIS)
GFMIS (Government Fiscal Management Information System) • ความหมายของ GFMIS (Government Fiscal Management Information System) • GFMIS เป็นเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานการคลังภาครัฐและสามารถใช้ เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ กับนโยบายการคลัง และการปรับทิศทางเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างทันท่วงที