850 likes | 1.39k Views
การบริหารจัดการธุรกิจเหมืองแร่ เพื่อลดต้นทุนการผลิต Mining Business Management for Cost Reduction. สมหวัง วิทยาปัญญานนท์ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำกัด กรกฎาคม 2551. ภารกิจธุรกิจเหมืองแร่ Mining Business Mission. ภารกิจธุรกิจเหมืองแร่.
E N D
การบริหารจัดการธุรกิจเหมืองแร่เพื่อลดต้นทุนการผลิตMining Business Managementfor Cost Reduction สมหวัง วิทยาปัญญานนท์ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำกัด กรกฎาคม 2551
ภารกิจธุรกิจเหมืองแร่Mining Business Mission
ภารกิจธุรกิจเหมืองแร่ภารกิจธุรกิจเหมืองแร่ • ลดต้นทุน (Cost Reduction)การผลิต VC โสหุ้ย FC การบริหาร FO ค่าเสื่อม DP เงินลงทุน IC ต้นทุนรวม TC จำนวนการผลิตที่เหมาะสม Vop or Economic Scale การเพิ่ม OEE • เพิ่มรายได้ (Income Improvement)เพิ่มยอดขาย price รายได้เสริม Other Income ผลิตภัณฑ์ใหม่และบริการใหม่ new product/new services เพิ่มมูลค่า Value Added • แสวงหาโอกาส(Opportunity Search)ช่องทางจำหน่าย เกรดสินค้าใหม่ สินค้าใหม่ เปลี่ยนผลิตภัณฑ์ (หินก่อสร้างเป็นหินอ่อน หินคาร์บอเนต)ตลาดใหม่ลูกค้าใหม่ ลูกค้าต่างประเทศ
การเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบการเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบ • เพิ่มราคา (Price)ราคาเพิ่มแต่ยอดขายไม่ลด ต่อรอง สินค้ายามวิกฤติ • การเพิ่มคุณภาพ(Quality Upgrade)เพิ่มคุณภาพราคาจะเพิ่ม เอามลทินออกยกระดับสินค้า • การเพิ่มหัวแร่ (Recovery)ได้หัวแร่มากมีกากทิ้งน้อย • การลดของเสีย(Zero Waste)ของเสียมุ่งสู่ศูนย์ ขยะไม่มีใช้งานได้หมด
ระบบที่มาช่วยลดต้นทุนการผลิตManagement Systemsconcern Cost Reduction
สิ่งที่ต้องทำในการลดต้นทุนอย่างเป็นระบบสิ่งที่ต้องทำในการลดต้นทุนอย่างเป็นระบบ 1) ต้องรู้โครงสร้างของต้นทุนก่อนในหมู่คนผู้เกี่ยวข้อง 2) ศึกษาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการลดต้นทุนทั้งทางบวกและทางลบ 3) ระดมสมองในหมู่ที่เกี่ยวข้อง 4) จัดลำดับความสำคัญในการลดต้นทุน มักทำในสิ่งที่ได้ง่าย รวดเร็ว ลดต้นทุนได้มากก่อน 5) มีระบบการติดตามผลงานการลดต้นทุน เช่น Performance Index หรือจุดวัดว่าในระดับต่างๆ ต้องดูแลอะไร ตั้งแต่กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการส่วน วิศวกรประจำส่วน ผู้จัดการแผนก (ให้ดูการบริหารนโยบายในวิชา TQM ประกอบ)
ระบบที่มาช่วยลดต้นทุนระบบที่มาช่วยลดต้นทุน • การบริหารเชิงประสิทธิผลโดยรวมTPM • การบริหารคุณภาพโดยรวม TQM • การวิเคราะห์ทำไม Why-Why Analysis • ผังก้างปลา Cause and Effects Diagram • ข้อมูลและความจริง Fact and Data Management • DOE • Balance Scorecards • Loss Tree Analysis • Inventory Control
การสูญเสียทั้งเจ็ด 7 Wastes • ผลิตเกินoverproduction: producing more, sooner and faster than required by the next process • ขนส่งมากเกินexcess transportation: any transport that adds cost but no value to the product • พัสดุมากเกินexcess inventory: this not only is a waste, but also creates waste • ทำมากเกินexcess processing: doing more work than necessary • รอนานไปwaiting: operator or machine idle time • แก้ไขงานที่บกพร่องcorrection: repairs to products • เคลื่อนที่เกินจำเป็นmotion: walking or wasted motion to pick up or store parts.
ขั้นตอนการขจัดการสูญเสียขั้นตอนการขจัดการสูญเสีย • นิยามความสูญเสีย (Loss Definition) • ไล่โครงสร้างการสูญเสีย (Loss Tree) • จัดลำดับความสำคัญของการสูญเสีย (Priority) • การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • ตั้งโครงการ (Project Setting) • ปฏิบัติตามแผนในโครงการ (Action Plan) • ทบทวนการสูญเสีย (Review) ตรวจสอบผลการลดการสูญเสีย โดยมุ่งสู่ศูนย์ (Zero Loss)
การลดการสูญเสียในเหมืองQuarry Loss Reduction ทั่วไป - ใช้กระดาษสิ้นเปลือง - รถบริการ - วัสดุสิ้นเปลือง ยุค ถุงมือ คืนชากก่อน - วิทยุสื่อสารใช้ไม่ได้ ใช้โทรศัพท์ส่วนตัว - เบิกอุปกรณ์สำนักงานเกินจำเป็น - งบประชุม งบเลี้ยง รับแขก ไฟฟ้า - วัตถุดิบหกล้น - น้ำรั่วไหล (ห้องน้ำ) - คู่ธุรกิจเล่นเกม - น้ำปะปารั่ว ปั้มทำงานตลอด - ควรใช้หลอดประหยัดไฟ - โฟโดเซลไม่ทำงานตอนกลางวัน ? Check - ไฟฟ้า #5 - รอรถ Dump รถไม่พอ - คอมพิวเตอร์ไม่ปิดหลังเลิกใช้
เชื้อเพลิง - น้ำมันหกล้นหลังเติมเต็มเจอมุมเอียง 45 องศา - สตารท์เครื่องจักรโดยไม่วิ่ง รถจอดเปิดแอร์รอขณะเดินดูหน้างาน - จ่ายงานผิดเบนต้องกลับไป - ย้ายเครื่องจักรบ่อย วางแผนได้ดี - หัวจ่ายน้ำมันสั่งซึมไม่ยอมซ่อม - ระเบิดบ่อย รถเบิดที่เดินหนีที - ใช้รถไม่เหมาะสมกับงานจุดตัก ขนาดรถตัก จำนวนรถ Dump เทรคเตอร์ดันกอง สต็อกน้อย - ไม่บริหารรถบริการงานเดียวกันไปคนละเที่ยวไม่ถูกกันหรือ? - ขนส่งลาดชันใช้น้ำมันมาก - การผลิต ไม่ Just in time - หลบระเบิดไกลเกินไป ติดต่อกับมือระเบิดไม่ได้ ไกลไว้ก่อน - ยกเลิกรถส่วนตัวในงาน - Bio-diesel น้อยเกินไป เร่งผลิตได้แล้ว - พนักงานต่างคนต่างมาคนละคัน - อุ่นเครื่องจักรนานเกินไปไม่ต้องรอจนแอร์เย็น - เครื่องยนต์ไม่มีแรง ดันจนควันดำต่อ OT อีกต่างหาก - รถ>>> ติดเครื่องรอหน้า CR นานไป สื่อสาร CR >>> ว่านานดับเครื่องไปเลย - เช่น OEE รถตัก
วัตถุดิบ - ใช้ CD หลายแผ่น - ใช้สวนทางจัดการหินฝุ่น - กองสต็อกวัตถุดิบ Double Handing - ใช้วัตถุดิบคุณภาพสูง ไม่ผสมของคุณภาพต่ำออกไม่ได้ - ที่ดินไม่ได้ใช้ประโยชน์อีกมาก - สต็อกวัตถุดิบ วัตถุดิบจมฝังดินเอามาใช้ไม่ได้ - จ่ายหินแล้วเอาไปทิ้งเพราะมักเสียอุบัติเหตุชั่งแล้วน้ำหนักเกิน - ดินดำ ดินเหลือง กองผสมกัน วัตถุดิบด้วยตัว ภาพรวม - PDCA - ดีก็เอาเป็นตัวอย่างไม่ดีก็เอามาแก้ไขปรับปรุง
หลักการลดต้นทุนการผลิตCost Reduction Principle
โครงสร้างการเงิน • โครงสร้างการเงินรายได้ที่ได้จากการประกอบธุรกิจมาจากเงินสุทธิของการขายสินค้าและบริการ การทำให้รายได้สุทธิ (กำไร) เพิ่มขึ้น ต้องขายเพิ่มขึ้น และลดรายจ่ายลง • รายได้สุทธิ = รายได้จากการขาย – รายจ่าย
การทำให้รายได้เพิ่มขึ้นการทำให้รายได้เพิ่มขึ้น • เพิ่มปริมาณการขาย ซึ่งขึ้นอยู่กับสัดส่วนการตลาด ช่องทางจำหน่ายสถานะการตลาด ท่าเรือส่งออก ชุมชนที่จะสนับสนุน • - ขายภายในประเทศ • - ส่งออกไปขายยังต่างประเทศ • ขึ้นราคาสินค้า ซึ่งมีขีดจำกัดด้านราคาในตลาด คู่แข่งขัน ความศรัทธาของลูกค้าที่มีต่อภาพพจน์สินค้า และหน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภค • ขายสินทรัพย์ที่ไม่ใช้แล้ว เช่น ที่ดิน เครื่องจักร อาคาร
การลดรายจ่าย • ลดต้นทุนผันแปรในการผลิต โดยเทคนิคการลดต้นทุนต่างๆ • ลดต้นทุนคงที่ในส่วนที่เป็นโสหุ้ย โดยศึกษาและตัดต้นทุนที่ไม่จำเป็นออกไป • ลดค่าใช้จ่ายด้านบริหารและการขาย • ลดค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร โดยการยึดระยะเวลา (ปี) ที่หักค่าเสื่อม • ลดค่าใช้จ่ายทางด้านการเงิน ได้แก่ ดอกเบี้ย โดยการเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ • ค่าภาษีและธรรมเนียมต่างๆ • ลดค่าหนี้สูญ โดยการบริหารสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ
นโยบายลดต้นทุนที่เหมาะสมกับสถานะปัจจุบันนโยบายลดต้นทุนที่เหมาะสมกับสถานะปัจจุบัน • ลดต้นทุนภายใต้ภาวะเงื่อนไขในปัจจุบัน • ลดต้นทุนที่ไม่อยู่ภายใต้ภาวะเงื่อนไขในปัจจุบัน อาจต้องมีการเปลี่ยนแปลงบางอย่าง ทั้งนี้ทั้งนั้นจะต้องยึดหลักชนะทั้งคู่
ระดับความยากง่ายในการลดต้นทุนระดับความยากง่ายในการลดต้นทุน • ระดับ 1: เปรียบเสมือนการตักน้ำจากบ่อ ลดได้มาก หรือมีช่องทางให้เล่น ได้มาก • ระดับ 2: เปรียบเสมือนน้ำหมดบ่อแล้วต้องขอด เอาจากก้นบ่อ ซึ่งจะยากขึ้น • ระดับ 3: เปรียบเสมือนน้ำแห้งแล้ว ตักไม่ได้แล้ว ต้องเอาผ้าแห้งไปซับ เอามา บิดถึงจะได้น้ำ ระดับนี้จะต้องใช้ความพยายามมากขึ้น • ระดับ 4: เปรียบเสมือนน้ำหมดบ่อแล้ว ซับอย่างไรก็ไม่เปียก แต่เราต้อง พยายามเอาน้ำมาให้ได้ อาจต้องถึงกับใช้วิธีไล่ด้วยความร้อน แล้วเอาไอน้ำมากลั่นตัว ระดับนี้ยากที่สุด เพราะมองไม่เห็นทางที่จะลดต้นทุนเลย
สามวิธีในการลดต้นทุน • ค่าใช้จ่าย = (ต้นทุนต่อหน่วย) คูณ (ปริมาณ) • วิธีการลดต้นทุนมีดังนี้ • ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยต่ำสุด เช่น ราคาน้ำมัน ราคาวัตถุระเบิด ราคาวัตถุดิบ • ทำให้ปริมาณน้อยลง เช่น ปริมาณที่ใช้ให้ลดลง • ตัดงานนั้นออกไป หากไม่จำเป็น
การทำให้ต้นทุนต่อหน่วยลดลงการทำให้ต้นทุนต่อหน่วยลดลง • เปลี่ยนมาตรฐาน เช่น วัตถุดิบที่มีคุณภาพเกินความจำเป็น ต้องทิ้งของเสียมาก ทำให้ต้นทุนสูง ก็ให้ใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพที่พอเพียงเข้ามาทดแทน • เลือกของทดแทนที่มีราคาถูกกว่า โดยการเปรียบเทียบจากผู้ขายหลายเจ้า หลายแห่ง ไม่ให้มีการผูกขาด • อาศัยส่วนลดราคา โดยการสั่งซื้อคราวละปริมาณมากๆ จะได้ส่วนลดมาก หรือเปรียบเทียบราคาที่อ้างอิงต่างๆ ราคาสินค้าอาจเปลี่ยนแปลง โดยการซื้อมากๆ ซื้อทีละชิ้น ให้เลือกที่เหมาะสม อาจเทียบจาก e-commerce
การทำให้ปริมาณลดลง • ทำให้อายุการใช้งานยาวนานขึ้น • เปลี่ยนแปลงเงื่อนไข เช่น การเปลี่ยนหรือซ่อมตามรอบเวลา เป็นการเปลี่ยนหรือซ่อมตามสภาพ • ลดจำนวนคน – ชั่วโมงในงาน • ลดงานซ้ำซ้อนจากการจ้างเหมา • - ผู้รับเหมาเป็นศูนย์ โดยการทำเอง (แต่อาจขัดนโยบาย) • - ทำสัญญาประจำหรือรายชิ้น สำหรับงานที่ควบคุมได้ยาก ดูที่ผลสำเร็จของงานก็เพียงพอ • นิยามปัญหาและกำจัด 3 Mu • Muri = กำจัดการเกินกำลัง • Muda = กำจัดการสูญเปล่า • Mura = กำจัดความไม่สม่ำเสมอ • เช่น ลดของทิ้ง ลดของเสีย ลดจุดบกพร่อง กำจัดพัสดุคงคลังที่เกินจำเป็น ลดการรอคอย ลดความเบี่ยงเบน ระหว่างแผนกับผล โดยทั่วไปแล้ว 3 Mu จะไม่ขัดแย้งกับคุณภาพและการส่งมอบ • ทำให้ใช้น้อยลงในกลุ่มงานที่ไม่มีการเพิ่มมูลค่าในเรื่องงาน วัตถุดิบ กระบวนการ ตลอดจนการวิเคราะห์กำลังพลที่เหมาะสมในแต่ละกระบวนการ • เลือกทางเลือกที่ต้นทุนต่ำในพื้นที่เพิ่มมูลค่า โดยใช้วิศวกรรมคุณค่า หรือการวิเคราะห์คุณค่า • คุณค่า = (หน้าที่ใช้งานที่ต้องจ่าย) / (ค่าใช้จ่ายจริง) • หรือโดยการใช้ QC Story ในการแก้ปัญหางานให้บรรลุหรือการปรับปรุงแบบก้าวกระโจน • ทดแทนเต็มที่ด้วยระบบใหม่ เช่น การรีเอนจิเนียริ่ง การออกแบบระบบหรือกลไกใหม่ การไม่ตั้งเป้าโดยใช้ข้อมูลปีที่ผ่านมา ให้คิดใหม่ทำใหม่
ตัดงานที่ไม่จำเป็นออกไปตัดงานที่ไม่จำเป็นออกไป • ให้แก้ที่เหตุรากเหง้า • อาจต้องรวมงานเพื่อความประหยัด • การใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรม • การรีเอนจิเนียริง
การวางแผนการทำเหมืองเพื่อลดต้นทุนการผลิตGood Mining Plan for Cost Reduction
แผนการทำเหมือง • แผนการกินหลายคุณภาพมาผสมกัน • มีตารางแผนการใช้เครื่องจักรที่เหมาะสม เช่นรถตักคู่กับรถบรรทุก • การใช้ประโยชน์จากหินเสีย • เดินหน้าเหมืองให้สอดคล้องกับเงื่อนไขสิ่งแวดล้อมและแผนผัง
การออกแบบการทำเหมืองเพื่อลดต้นทุนการผลิตMining Design for Cost Reduction
การออกแบบทำเหมือง • เส้นทางสั้นสุด • ความลาดเอียงทางขนส่งไม่มาก • กินจากใกล้ไปไกล • ใช้ไหล่เขาให้เป็นประโยชน์ • วางแผนคุณภาพให้ดี • หน้าเหมืองไม่แคบเกินไป • มองไกล อย่ามองแค่ปีสองปี • เลือกเดินหน้าเหมือง ด้วยเครื่องจักรที่เหมาะสม • เลือกวิธีการทำเหมืองที่เหมาะสม • ออกแบบเครื่องจักรย่อยหินที่เหมาะสม
การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำเหมืองเพื่อลดต้นทุนการผลิตMining Operation Excellence
การใช้หินรอผสม (หินปนดิน) เพื่อลดต้นทุนWaste Blending for Cost Reduction 1. การผสมหินรอผสมมากหรือน้อย ให้พิจารณาคุณภาพหลังเครื่องย่อย และปริมาณส่งมอบเป็นหลัก โดยผสมแล้วคุณภาพทางเคมี และ % ดินยังผ่านเกณฑ์กำหนด และสามารถย่อยทำกองได้ทัน 2. กรณีหินรอผสมไม่แห้งมากนัก ให้ทำการผสมหินดีกับหินรอผสม ให้กะ เดียวกัน โดยผสมหินรอผสมไม่เกิน 25 % ของหินที่ย่อย 3. กรณีที่หินรอผสมแห้งสามารถตักขนเข้าโดยไม่ผสมตลอดกะ แต่ Operator เครื่องย่อยจะต้องหมั่นเพิ่มลด%การป้อนของสายพานเหล็กตลอดเวลา โดยพิจารณาจากค่ากระแสของค้อนย่อย 4. กรณีที่มีดินปนหินมาก จน% การป้อนสายพานเหล็กน้อยกว่า 35% ให้แจ้งเพื่อทำการตักผสมหรือเปลี่ยนจุดตัก
การปรับปรุงประสิทธิภาพเครื่องย่อยเพื่อลดต้นทุนการผลิตCrushing Effectiveness
ตันสูญเสียของเครื่องย่อยหินตันสูญเสียของเครื่องย่อยหิน ตันย่อย ไม่ได้เป้าหมาย ตัน / กะ ตัน / วัน ตัน / เดือน ตัน / ชม.ย่อย ตัน / ชม.เฉลี่ย จากกะ, วัน, กอง ชม. / กะ ชม. / วัน ชม. / เดือน ชั่วโมงย่อยมากกว่าแผน ตัน/ชั่วโมงน้อยกว่าแผน หยุดใน เวลาย่อย ในกะย่อย หยุดนอก เวลาย่อย ในกะย่อย หยุดนอก กะย่อย เหตุจาก รถบรรทุก เหตุจาก ผู้ควบคุม เครื่องย่อย เหตุจาก วัตถุดิบ เหตุจาก เครื่องย่อย
การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องย่อยหินการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องย่อยหิน • อัตราการย่อย (ตัน/ชม.) ไม่ถึงเกณฑ์ออกแบบ ต้องเพิ่ม เช่น Spec. ออกแบบการันตี 750 ตัน/ชม. สถานการณ์จริงในปีนี้ทำได้ 543 ตัน/ชม. ปัญหา 207 ตัน/ชม. • ชั่วโมงทำงานต้องเพิ่ม - ชั่วโมง/เดือน มากกว่าที่กำหนดเนื่องจาก ตัน/ชม. ต่ำกว่า Spec. เช่น ต้องการย่อย 750 ตัน/ชม. X 100 ชม. = 75,000 ตัน ทำได้จริง 543 ตัน/ชม. X 138 ชม. = 75,000 ตัน ต้องลดชั่วโมงทำงาน ปัญหามีอยู่ 38 ชั่วโมง • ชั่วโมง/กะ น้อยกว่าที่กำหนด เวลาสูญเสีย (Downtime) มาก
สาเหตุการหยุดใน สาเหตุการหยุดนอก เวลาย่อยในกะย่อย เวลาย่อยในกะย่อย 16:00 น. • รอรถบรรทุก (วิ่งขาดระยะ) • หินติดปากอ่าง • เครื่องโปรยลื่น • เหล็กเข้าไม้ลง • สายพานเอียง • เครื่องจักรชำรุด • สายพานขาด • รถโปรยกองตกราง • เก็บตัวอย่างบนสายพาน • ช่างฟิตเข้าซ่อม • ชู๊ตตัน • สายพานหยุดวัตถุดิบอัด • เข้าบำรุงรักษา • เริ่มเดินเครื่อง หินยังไม่เท • รอรถบรรทุก (ยังไม่มา) • รอผู้ควบคุม • หัวหน้าสั่งให้หยุด • รถบรรทุกเลิกงานก่อน • เคลียร์หินบนสายพาน • หลบระเบิด • สต๊อกเต็มกอง • รอรถกวาดเข้ากอง • เวลาย่อยที่ฆ้อนหมุน (นับหมด) • เวลาหยุดที่ฆ้อนหมุนไม่มี Output • เวลาหยุดที่ฆ้อนหยุด กะย่อย 08:00 น.
กะที่ไม่มีการย่อย และ ไม่สามารถเข้าทำการย่อยได้ เนื่องจากเหตุปัจจัยภายนอก สาเหตุการหยุดนอกกะย่อย • นักขัตฤกษ์ • แผนหยุดย่อย • แผน PM • แผนซ่อมใหญ่ • น้ำท่วม • รอรถกวาดเข้ากอง • PM ไม่ตรงกับการรอรถกวาดเข้ากอง
ตัน / ชั่วโมง น้อยกว่าแผน • สาเหตุจากรถบรรทุก • จำนวนรถน้อย • เที่ยว / ชม. น้อย • สาเหตุจากผู้ควบคุมเครื่องย่อย • เพิ่งมาใหม่ • ลดอัตราการป้อน • ขาดเทคนิค • สาเหตุจากวัตถุดิบ • หินก้อนโตล้วน ๆ • หินปนดินมากไป • หินเปียก ทำให้ฆ้อนอื้อ • สาเหตุจากเครื่องย่อย • สายพานเหล็กเดินช้า • หินไม่เต็มอ่าง • แรงเสียดทานหินก้อนกับผนังสายพานเหล็ก • ค้อนอื้อ • กองหินโปรยกองสูง • หินบนสายพานเอียง
การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องย่อยหินการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องย่อยหิน การเพิ่ม ตัน/กะ เฉลี่ยทั้งกอง พิจารณาที่ ตัน / เดือน เท่าเดิม ใช้เวลาชั่วโมง ย่อยน้อยลง เพิ่ม ตัน/ชั่วโมง ให้สูงขึ้น เพิ่มจำนวน ตันสต๊อกกอง ให้มากขึ้น ย่อยเต็ม กองให้เร็ว
ใช้เวลาชั่วโมงย่อยน้อยลงใช้เวลาชั่วโมงย่อยน้อยลง • ลดเวลาหยุดในเวลาย่อยในกะย่อย • ลดเวลาหยุดนอกเวลาย่อยในกะย่อย • ลดเวลาหยุดนอกกะย่อย • ติดต่อช่างฟิต เฝ้าระวังเครื่องย่อยตลอดเวลาย่อย
เพิ่ม ตัน/ชั่วโมง ให้สูงขึ้น • จำนวนเที่ยว/ชม. ของรถบรรทุกมากพอ (รถต้องรอเครื่องย่อย) • เส้นทางลำเลียงดี รถบรรทุกใช้ความเร็วได้ • ใช้ขนาดรถบรรทุกให้ใหญ่พอ เพื่อลดจำนวนรถ • หินป้อนมีขนาดสม่ำเสมอ • ตั้ง GAP ฟันฆ้อนให้เหมาะสม ไม่เล็กเกินไป • หินเต็มอ่างป้อนเข้าเครื่องย่อยเต็มที่ • สายพานเหล็กป้อนเร็ว • ตักผสมหิน (ชู๊ต) ให้ขนาดคละกัน • ในช่วงเริ่มกองต้องให้ ตัน/ชม. สูง และปลายกองลดความเร็ว เพียงเพื่อป้องกันรถ • โปรยลื่น • ทาน้ำมันขอบผนังสายพานเหล็ก • ช่วงหน้าแล้ง ฆ้อนกินหินผสมดินได้ • ช่วงหน้าฝน หินผสมดินต้องผสมหินโต
เพิ่มจำนวนตันสต๊อก • กองให้มากขึ้น • ลดวันย่อยเต็มกอง เพื่อหลีกเลี่ยง • การย่อยไม่ทันรถกวาด • ปรับชู๊ตหินลงรถกวาดให้ทิศทาง เดียวกับสายพานโปรย • ช่วงหม้อเผาหยุดรีบทำกองสูง • ย่อยเต็มกองให้เร็ว • กรณีจำเป็นอาจต้องย่อยกะ 3 • เพิ่มชั่วโมงย่อยในกะ
การปรับปรุงกระบวนการตักขนหินเพื่อลดต้นทุนการผลิตExcavation and Transportation
ผลกระทบตามกระบวนการผลิตต่อผลกระทบตามกระบวนการผลิตต่อ ประสิทธิภาพเครื่องย่อยหิน • ขนาดกอง • รถกวาด • การเทกอง • กองหิน • การกระจายขนาดหิน • การตักหิน • การขนส่ง • การเทลงอ่างเครื่องย่อย • ระดับหินในอ่าง • สายพานเหล็ก • เครื่องย่อย • การซ่อมบำรุง • สายพานลำเลียง • ชู๊ตเท • รถโปรย
การเท - นำหินปนดินลงเทชู๊ตมาก กระทบ ตัน/ชม. - หินมีเศษเหล็ก กรองน้ำมัน ท่อนไม้ผสมลงมา เศษโลหะ Metal Detector จะจับ ต้องหยุดสายพาน ท่อนเหล็กจะตี Grinding Path แตก ท่อนไม้ ขัดชู๊ต กระทบชั่วโมงย่อย - เทหินก้อนโตลงชู๊ต ติดช่องปากอ่าง ขัดกันที่สายพานเหล็ก ติดช่องป้อนเข้า เครื่องย่อย กระทบชั่วโมงย่อย - เทผิดชู๊ต หินหล่นใส่รถตัก กระทบชั่วโมงย่อย
กองหิน • - ขนาดกองใหญ่เกินไป ดินปนหินก้นกองมาก ตักผสมลำบาก หน้าตัดกอง • ขณะตักสูงชัน ไม่กล้าตัก กระทบ ตัน/ชม. • - ขนาดกองเหมาะสม ตักคลุกเคล้าระหว่างหินปนดินก้นกองกับหินโตผสม • กัน ได้ ตัน/ชม. สูงที่เครื่องย่อย • - มีหินโตฝังบนยอดกอง คนขับรถตักไม่กล้าตักหรือไม่กล้ารีบตัก กระทบ • ตัน/ชม. • - หินโตบนยอดกองตกใส่รถตัก กระทบชั่วโมงย่อย • กอง 3 ไกลกว่ากอง 2 ไกลกว่ากอง 1 ระยะทางขนส่งที่ไกลจากเครื่องย่อย • มากกว่า ทำให้จำนวนเที่ยวรถบรรทุกป้อนเครื่องย่อยลดลง กระทบ ตัน/ชม.
การกระจายขนาดหินกอง - หินก้นชู๊ตเป็นดินปนหิน (หินโซน C) ขนาดเล็ก ขณะแห้ง เพิ่ม ตัน/ชม. หาก เปียกชื้น (ฤดูฝน) ทำให้ฆ้อนอื้อ ตัน/ชม. ตก - หินกลางชู๊ต (หินโซน B) ขนาดกลาง ปริมาณดินน้อย (เหมาะสำหรับป้อน โรงย่อยหินก่อสร้าง) การย่อยทำได้ดี ได้ ตัน/ชม. - หินตีนกองชู๊ต (หินโซน A) ขนาดโต ไม่มีดินปน หากโตมากติดปากอ่าง กระทบ ชั่วโมงย่อย การย่อยใช้เวลา กินกระแสไฟฟ้ามาก ตัน/ชม. ตก นอกจากนี้หินโต มีปริมาณมาก รถตักต้องเสียเวลาตักแยกกอง และกองกีดขวางการถอยรถ บรรทุกเข้ารับหินจากรถตัก กระทบ ตัน/ชม.
การตักหินชู๊ต - ตักคลุกเคล้าหินโซน A และ B หรือโซน B และ C จึงจะได้ ตัน/ชม. เครื่องย่อยสูง - หากกินโซน C เปียก ต้องตักหินโซน A หรือ B เข้าผสม จึงจะได้ ตัน/ชม. - รถตักต้องรอรถบรรทุก จึงจะได้ ตัน/ชม. สูง - รถตักล้อยางจะตักหินชู๊ตที่ผสมหินโซนต่าง ๆ ได้ดีกว่ารถตักตีนตะขาบ
การขนส่ง - ระยะทางจากชู๊ตตักถึงเครื่องย่อย กระทบ ตัน/ชม. - เส้นทางไม่เรียบ ขรุขระ รถบรรทุกลดความเร็ว -ฝุ่นมากตามเส้นทางขนส่ง รถบรรทุกลดความเร็ว - ถนนลื่นจากฝนตก รถบรรทุกลดความเร็ว - ทางแคบจากการสร้างแนวสายพาน ข้างทางสายประธาน รถบรรทุกลด ความเร็ว - ปริมาณรถบรรทุกเพิ่มขึ้นจากรถสิบล้อขนหินเข้าโรงย่อยหินก่อสร้าง และรถ โครงการก่อสร้างอื่นๆ ต้องลดความเร็วซึ่งกระทบ ตัน/ชม. - ปริมาณรถบรรทุกไม่เพียงพอหรือลดลง เนื่องจากการหยุดซ่อมบำรุงรักษา ยางระเบิด ยางขาดสต๊อก
การเทลงอ่างเครื่องย่อยการเทลงอ่างเครื่องย่อย - ขณะอ่างรับหินว่างต้องค่อยเทลงเป็นหลายจังหวะ เพื่อลดการชำรุดของ สายพานเหล็ก กระทบชั่วโมงย่อย - รถบรรทุกต้องรอเครื่องย่อย จะได้ ตัน/ชม. สูง - การเทหินโดยเร็ว หินโตอาจวิ่งเข้าชนสายพานเหล็ก หรือกระแทกอ่างพัง
ระดับหินในอ่าง - ระดับสูงมากเกินไป สายพานเหล็กรับน้ำหนักมากใช้กระแสไฟฟ้ามาก มอเตอร์ทำงานหนัก การเสียดสีที่เฟืองขับสูง ต้องลดอัตราการป้อน กระทบ ตัน/ชม. - ระดับต่ำเกินไป ความหนาหินป้อนบนสายพานเหล็กน้อย กระทบ ตัน/ชม. - ปล่อยให้ระดับหินในอ่างว่างบ่อย ๆ อ่างรับหินและสายพานเหล็กอาจชำรุด กระทบชั่วโมงย่อย
สายพานเหล็ก - ความเร็วในการป้อนน้อย เนื่องจากมอเตอร์ขับ หรือล๊อคเอาไว้ กระทบ ตัน/ชม. - หล่อลื่นไม่เพียงพอ แรงเสียดทานสูง ความเร็วในการป้อนน้อยลง กระทบ ตัน/ชม. - ข้อโซ่สายพานเหล็กหลุดบ่อย ต้องหยุดเชื่อม หรือตีเข้า กระทบชั่วโมงย่อย - รางรับสายพานเหล็กเอียง หินเข้าฆ้อนหนักข้างเดียว ต้องลดอัตราการป้อน กระทบ ตัน/ชม.
สายพานเหล็ก (ต่อ) - แบริ่งร้อน ไฮดรอลิคมอเตอร์ร้อน ต้องลดอัตราการป้อน ป้องกันอุณหภูมิสูง เกินกำหนด กระทบ ตัน/ชม. - ปีกของสายพานเหล็กตั้งตรง แรงเสียดทานสูง สำหรับหินก้อน ความเร็วหิน ป้อนน้อยกว่าความเร็วสายพาน หินบางก้อนหมุนอยู่กับที่ โดยเฉพาะที่ติด ผนัง กระทบ ตัน/ชม. (ทางแก้ไข ใช้น้ำมันเครื่องเสียทาบาง ๆ ที่ผนังของ สายพานเหล็ก - ความกว้างสายพานต้องสัมพันธ์กับชู๊ตเข้าเครื่องย่อย มิเช่นนั้น หินก้อนโต บนสายพานเหล็กจะเข้าติดขัด