720 likes | 949 Views
แนวทางการสร้างเครือข่ายขับเคลื่อน เมืองเกษตรสีเขียว ( Green Agriculture City ). สาขาวิชา เกษตรศาสตร์และสหกรณ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. Green City การพัฒนาเกษตร อาหาร เพื่อคุณภาพชีวิต ของเกษตรกร ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม.
E N D
แนวทางการสร้างเครือข่ายขับเคลื่อนแนวทางการสร้างเครือข่ายขับเคลื่อน เมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Green Cityการพัฒนาเกษตร อาหาร เพื่อคุณภาพชีวิตของเกษตรกร ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม
คำถามเจ้าหน้าที่ ???????จะทำได้หรือ?ทำที่ไหนดี หาเกษตรกรทำไม่ได้ ?จะแนะนำอะไร? อย่างไร?ขายอยู่ที่ไหน?มีปัญหาแก้ไม่ตกใครจะช่วย?ถามใคร?งบที่ไหน?ประสานกับใครไม่มีข้อมูล?ฯลฯ
คำถามผู้ปลูก??????????ไม่เชื่อว่าทำได้?ผลผลิตได้น้อย?ราคาเท่ากับเกษตรทั่วไปทำทำไม?ทำแล้วไม่คุ้มทุน ขาดทุน?เสียเวลา? ยุ่งยาก?ขั้นตอนเยอะ?ปลูกแล้วไม่มีที่ขาย?ฯลฯ
คำถามผู้กระจายสินค้าตลาด??????ผลผลิตมีน้อยไม่พอรวบรวม?ใครทำบ้างอยู่ที่ไหน?ใครรับรอง?ผลผลิตไม่ต่อเนื่อง ?ตรวจสอบย้อนกลับอย่างไร?ฯลฯ
คำถามผู้บริโภค????????หาซื้อที่ไหน?ไม่สะดวก?ติดต่อใคร? อย่างไร?ราคาแพง?เชื่อได้อย่างไรว่าปลอดภัยจริง?สินค้าไม่หลากหลายอยากกินหลายอย่าง?ฯลฯ
หากจะคลี่คลายปัญหา สิ่งที่ต้องก้าวข้าม • การมองมุมเดียว • ทำด้านเดียว • ทำหน่วยงานเดียว • ทำวิธีการเดียว • ทำช่วงเดียว • ทำแบบเดียว • ทำเดี๋ยวเดียว
หัวใจการพัฒนา เมืองเกษตรสีเขียว • พัฒนาพื้นที่ ให้ปลอดภัย ไร้มลพิษ มีการจัดการของเสีย • พัฒนาสินค้า ให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ปลอดภัย ใช้ภูมิปัญญา • พัฒนาคน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีรายได้ ผลิตยั่งยืนอยู่ในพื้นที่ได้
การขับเคลื่อน.....เมืองเกษตรสีเขียวการขับเคลื่อน.....เมืองเกษตรสีเขียว • ต้องทำทุกระบบ • ระบบการเรียนรู้(เกษตรกร ผู้บริโภค จนท.)และระบบฐานข้อมูล • ระบบมาตรฐานความปลอดภัย • ระบบการผลิต • ระบบการจัดการกลุ่ม เครือข่าย • ระบบการกระจายสินค้า • ระบบเชื่อมโยงผู้บริโภค การสื่อสารและประชาสัมพันธ์
ระบบการเรียนรู้ และระบบฐานข้อมูล
การเรียนรู้(ของทุกกลุ่ม)การเรียนรู้(ของทุกกลุ่ม) • เนื้อหา ครบถ้วน ทำได้จริง ปรับทัศนะก่อน • กระบวนการไม่น่าเบื่อ เห็นของจริง ได้ลองทำ ผสมผสานวิธี หลายช่องทาง ต่อเนื่อง ผู้เรียนมีโอกาสจัดการเองได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อเนื่อง • วิทยากรตัวจริง รู้จริง ปรึกษาได้ • กระบวนกร ออกแบบได้ดี เชื่อมโยงได้ หาแหล่งความรู้ได้ แนะนำได้
ระบบฐานข้อมูลใคร ทำอะไร ที่ไหน เท่าไร ต้นแบบต่างๆ แหล่งตลาด ความรู้
การผลิต • วิธีการสอดคล้อง บริบท พื้นที่ สินค้า คน • จัดการปัจจัยพึ่งตนเองให้มากที่สุด • ลดต้นทุน เพิ่มมูลค่าด้วยคุณค่า • เพิ่มศักยภาพทุกขั้นตอน ก่อน ระหว่าง หลังการผลิต • ผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นกับ ความรู้ภายนอก
ระบบการจัดการกลุ่ม เครือข่าย เพราะการผลิตต้องปราณีต มีผลผลิตมากพอ สามารถจัดการได้และรวมกันจัดการตลาด
กลุ่ม เครือข่าย • เริ่มจากกลุ่มเล็ก • กลุ่มจัดการได้จริง • กลุ่มดูแล ควบคุมสมาชิกได้ • เรียนรู้ พบปะกันเสมอ • เชื่อมโยงเครือข่าย • มีกลไกประสาน • กิจกรรมต่อเนื่อง หลายด้าน
ระบบรับรองมาตรฐาน ความปลอดภัย
มาตรฐานความปลอดภัย • หลากหลาย (องค์กรรับรอง มีส่วนร่วมPGS) • อธิบายได้ ยืนยันได้ พิสูจน์ได้ ผู้ซื้อมั่นใจ • ตามความจำเป็น เห็นประโยชน์ • ไม่กีดกัน แต่เป็นเครื่องมือพัฒนา • รู้แหล่งที่มา ตรวจสอบย้อนกลับ
การกระจายสินค้า • สร้างหลายช่องทาง มีสินค้าหลากหลาย วัตถุดิบ แปรรูป • เริ่มใกล้ตัว..หน้าฟาร์ม...ท้องถิ่น....เมือง....ส่งออก • จัดการเหมาะสมตั้งแต่เกษตรกร....ผู้กระจาย • รณรงค์ หน่วยงาน บริษัท สถาบันเข้าร่วมจัดการ • ผู้ซื้อสะดวก เข้าถึงง่าย ประหยัดเวลา • จนท.ลดบทบาท • เกษตรกรและกลุ่มได้ประโยชน์ ไม่ใช่ปัจเจก ธุรกิจใหญ่
การจัดการตลาดในระบบสมาชิกกล่องผักการจัดการตลาดในระบบสมาชิกกล่องผัก ระบบสมาชิกกล่องผัก หรือ ระบบซีเอสเอ(CSA :Community Supported Agriculture) เป็นระบบที่มุ่งเน้นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคโดยมีการตกลงกันล่วงหน้าและแผนการผลิตร่วมกันโดยผู้บริโภคที่สมัครเป็นสมาชิกอาจต้องจ่ายเงินล่วงหน้าเพื่อเป็นเงินทุนในการผลิต ซึ่งผู้บริโภคจะได้รับผลผลิตซึ่งจะเป็นผักสด ผลไม้ตามฤดูกาลเป็นการตอบแทนในแต่ละสัปดาห์
ระบบเชื่อมโยงผู้บริโภค การสื่อสาร และการประชาสัมพันธ์
เชื่อมโยงผู้บริโภค การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ • สร้างความเข้าใจผู้บริโภค สังคม • รณรงค์ให้ทุกฝ่ายร่วมรับผิดชอบ ร่วมหนุน • สร้างความสัมพันธ์ ผูกพันผู้ผลิต ผู้บริโภค • ปชส.หลายช่องทาง หลายวิธีการ เหมาะและเจาะกลุ่มเป้าหมายได้ • สื่อสารต่อเนื่อง • ส่งเสริมให้เห็นคุณค่าของผู้ผลิต ชุมชน สินค้า ผลิตภัณฑ์
แนวทางการดำเนินงาน GC. • เชื่อมโยงกับโครงการ บริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ วิเคราะห์พื้นที่ โครงการ สมาร์ทฟาร์มเมอร์ • เริ่มต้นจากพื้นที่ที่สามารถบูรณาการได้ (หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ) • มีความพร้อมในการพัฒนาสินค้าเกษตรที่สำคัญ • สู่กระบวนการผลิต ปลอดภัย ผลผลิตดีมีคุณภาพ เพิ่มมูลค่า แปรรูป ใช้เทคโนโลยี่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
แล้วเราจะเริ่มกันอย่างไร?????แล้วเราจะเริ่มกันอย่างไร?????
แนวคิดการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแนวคิดการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
1. ภูมิสังคม การพัฒนาจะต้องคำนึงถึงความสอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ ภูมิประเทศ และสภาพทางสังคมวิทยาของชุมชนนั้นๆ
2. ทำงานแบบบูรณาการ ทรงเน้นการสร้างความรู้ รัก สามัคคีและการร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจกัน ด้วยการปรับลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่มักจะต่างคนต่างทำและยึดติดกับการเป็นเจ้าของเป็นสำคัญ
3. พัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
การขับเคลื่อนต้องทำทุกระบบ • ระบบการเรียนรู้และฐานข้อมูล • ระบบมาตรฐานความปลอดภัย • ระบบการผลิตและ • ระบบการจัดการกลุ่ม เครือข่าย • ระบบการกระจายสินค้า • ระบบเชื่อมโยงผู้บริโภค สื่อสารและประชาสัมพันธ์ จึงต้องหาภาคี และสร้างเครือข่าย
การขับเคลื่อนเมืองเกษตรสีเขียวเกี่ยวข้องกับหลายเรื่อง หลายระดับ
จักรวาล โลก ภูมิภาค กลุ่มประเทศ ภาค ประเทศ อำเภอ จังหวัด กลุ่มจังหวัด ระดับหมู่บ้าน ภูมินิเวศ องค์กร เครือข่าย กลุ่มพวกญาติ ครอบครัวเกษตรกร เกษตรกร ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต้องเชื่อมโยงหลายระดับ
การพึ่งตนเอง ของชาวบ้าน • ระดับครัวเรือน • เกษตรผสมผสาน ประมง ยั่งยืน • หัตถกรรมครัวเรือน • แปรรูปผลิตภัณฑ์ • เพิ่มมูลค่า ด้วยคุณค่า • ระดับชุมชนหมู่บ้าน • องค์กรชาวบ้าน • กิจกรรมกลุ่ม สตรี เยาวชน • ทุนหมุนเวียน • วิสาหกิจชุมชน • ระดับท้องถิ่น • รักษานิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติ • เครือข่ายชาวบ้าน ภาคี • การเรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง • ตลาด การจัดการ
สร้างความร่วมมือประสานภาคีสร้างความร่วมมือประสานภาคี ขยายเครือข่าย ระดับเครือข่าย • วัตถุประสงค์ร่วม เชื่อมโยง กิจกรรมสนองสมาชิกส่วนร่วม • สร้างแกนนำ ขยายกิจกรรม • ทำความเข้าใจตระหนัก ระดับกลุ่ม ชุมชน ตรวจตรา • กฎระเบียบดูแลน้ำป่าทรัพยากร • กรรมการ ทำแผนดำเนินการ การตลาด • ดูแล ใช้ถูกวิธี การจัดการ ระดับครัวเรือน ลดละเลิกการทำลาย • ระบบผลิตยั่งยืน การเพิ่มมูลค่า รักษาความอุดมสมบูรณ์ • ใช้อย่างรู้คุณค่า • รักษาความหลากหลาย รูปแบบการจัดการระดับต่างๆ
พลังหน่วยงาน • มีบุคลากรรับผิดชอบระดับพื้นที่ • เจ้าหน้าที่หลายส่วนเป็นคนรุ่นใหม่มีพลัง • มีช่องทางสื่อสารใหม่ๆ • มีหน่วยงานองค์กรวิจัย พัฒนา ส่งเสริมกระจายทุกพื้นที่ • มีตัวอย่างการทำงานที่ดี • มีทรัพยากร พลังเกษตรกร มีภูมิปัญญา วัฒนธรรม มีต้นแบบรูปธรรมตัวอย่าง มีศูนย์เรียนรู้ที่ดี มีกลุ่ม มีเครือข่าย ยังพอมีทรัพยากรดิน น้ำ ป่า ความหลากหลายเป็นทุน
พลังสังคม • มีภาคี หน่วยงาน รัฐ เอกชน ประชาชนหลายหลายทำงานด้านเกษตรและอาหาร • ผู้บริโภคต้องการอาหารดี มีคุณภาพ แสวงหาทางเลือก • ภาคสื่อเป็นช่องทางกระตุ้น จุดกระแส ช่องทางเรียนรู้และเชื่อมต่อได้ • เริ่มตระหนักความมั่นคงทางอาหาร การถูกผูกขาด
สร้างเครือข่ายในการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัยสร้างเครือข่ายในการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย
เครือข่ายคืออะไร?? การประสานความร่วมมือ ระหว่างบุคคล กลุ่มและองค์กรที่มีกิจกรรมคล้ายคลึงกันและเชื่อมโยงขยายผลการทำงานไปสู่กลุ่ม องค์กรอื่นๆเพื่อเสริมสร้างพลัง ในการแก้ไขปัญหาโดยผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ที่จะนำไปสู่ การปฎิบัติ การเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันของทุกฝ่าย
เครือข่าย(NETWORK) NETคือตาข่ายที่โยงใยถึงกันและพร้อมที่จะ WORK ทำงานเมื่อต้องการใช้งาน
พื้นที่หลากหลาย แน่น ใจเดียวกัน รูปแบบ ระดับหลากหลาย เนื้อหา ไม่ใช่แค่จับมารวม การก่อตัว กิจกรรม หลัก-ย่อยหลากหลาย เครือข่าย กลุ่ม องค์กร ถักทอ • หลายรูปแบบ • หลายลักษณะ • หลายระดับ • แต่มีเป้าหมายรวมกันและแลกเปลี่ยนแบ่งปัน
ความจำเป็นในการสร้างเครือข่ายความจำเป็นในการสร้างเครือข่าย 1. สถานการณ์ปัญหาและสภาพแวดล้อม เกิดปัญหาซ้ำซ้อน หลากหลายและขยายตัว เกินความสามารถของกลุ่ม 2. สร้างโอกาสและให้โอกาสในการพัฒนา ศักยภาพของฝ่ายต่างๆ 3. เกิดการประสานผลประโยชน์อย่างเท่าเทียม
องค์ประกอบของเครือข่ายองค์ประกอบของเครือข่าย 1. สมาชิกของเครือข่าย 2. มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน 3. การทำหน้าที่ต่อกันของสมาชิกอย่างมีจิตสำนึก 4. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. การมีปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารร่วมกัน 6. กระบวนการเสริมสร้างซึ่งกันและกัน 7. ความเท่าเทียมของฝ่ายต่างๆ 8. การแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดจากการทำงานร่วมกัน
เป็นเครือข่ายแล้วได้อะไร???เป็นเครือข่ายแล้วได้อะไร??? 1. เกิดกระบวนการเรียนรู้ 2. การเพิ่มโอกาสในการแก้ไขปัญหา 3. เกิดการพึ่งพาตนเอง 4. เกิดการจัดการทรัพยากรในท้องถิ่น 5. เกิดกระบวนการผลักดันเชิงนโยบาย 6. เกิดพลังอำนาจในการต่อรอง
วิธีการสร้างเครือข่ายวิธีการสร้างเครือข่าย • พบปะกัน คุยกัน • กำหนดเป้าหมายร่วมกัน • ออกแบบ วางแผนร่วม • สร้างข้อตกลงร่วม • ช่วยกันทำ ช่วยกันกำกับ ติดตาม ประเมิน • มีผู้ประสาน ฯลฯ
กระบวนการทำงานของเครือข่ายกระบวนการทำงานของเครือข่าย 1. กระบวนการทำงานที่เชื่อมประสานจากจุดเล็กและขยายไปสู่หน่วยใหญ่ - หาแนวร่วม - ประสานความร่วมมือ - สร้างความพร้อมในเรื่องข้อมูล การจัดการ และแนวร่วมที่หลากหลาย - รักษาพันธกรณี ความสัมพันธ์และการสื่อสารที่เป็น ระบบเพื่อให้เครือข่ายมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
กระบวนการทำงานของเครือข่ายกระบวนการทำงานของเครือข่าย 2. การรักษาสัมพันธภาพที่สร้างความรู้ ความหมาย และโลกทัศน์ร่วมกัน - การสื่อสารระหว่างสมาชิกและภาคีเพื่อให้ฝ่ายต่างๆ ได้มีโอกาสเรียนรู้และทำงานร่วมกัน 3. การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้และการปรับตัวเข้าหากัน ทั้งแนวคิดและวิธีปฏิบัติ โดยใช้เทคนิควิธีการต่างๆ เช่น การดูงาน การฝึกอบรม การพัฒนาผู้นำ การถอดบทเรียนร่วมกัน 4. การพัฒนากิจกรรมและการเคลื่อนไหวทางสังคม เช่นการกำหนดนโยบาย มาตรการทางกฎหมาย ฯลฯ