1.34k likes | 1.95k Views
ค่าใช้จ่าย. ในการเดินทางไปราชการ. การเดินทางไปราชการ. การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร การเดินทางไปราชการต่างประเทศ. กฎ / ระเบียบที่เกี่ยวข้อง. ก่อนเดินทาง ขออนุมัติเดินทางไปราชการ – ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการ และการจัดประชุมราชการ พ.ศ. 2524 ข้อ 11
E N D
ค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปราชการ
การเดินทางไปราชการ • การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร • การเดินทางไปราชการต่างประเทศ
กฎ / ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ก่อนเดินทาง • ขออนุมัติเดินทางไปราชการ –ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการ และการจัดประชุมราชการ พ.ศ. 2524 ข้อ 11 • ขออนุมัติยืมเงินราชการ –ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 5
หลังเดินทาง • ขออนุมัติเบิกค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ– เบิกตรง • ขออนุมัติเบิกค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการและส่งคืนเงินยืม - พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ถึงฉบับ 8 พ.ศ. 2553 - ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบับ 2 พ.ศ. 2554
บุคคลที่มีสิทธิ 1. ข้าราชการตาม พรฎ.ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการฯ 2. ลูกจ้าง (หมายถึง ลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างจากเงินงบประมาณรายจ่าย เว้นแต่ลูกจ้างชาวต่างประเทศที่มีสัญญาจ้าง) 3. พนักงานราชการ 4. บุคคลภายนอก 5. บุคคลในครอบครัว (คู่สมรส บุตร บิดา มารดา ผู้ติดตาม)
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักรค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร
ขั้นตอนการใช้สิทธิ 1. อนุมัติให้เดินทาง 2. ยืมเงินราชการ 3. เดินทาง 4. อนุมัติเบิกค่าใช้จ่าย
การอนุมัติให้เดินทางไปราชการการอนุมัติให้เดินทางไปราชการ • ผู้ที่มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการได้ ต้องได้รับอนุมัติให้เดินทางไปราชการ จากผู้มีอำนาจอนุมัติ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การอนุมัติให้เดินทางไปราชการ พ.ศ. 2524 ข้อ 11
ผู้มีอำนาจอนุมัติการเดินทางฯผู้มีอำนาจอนุมัติการเดินทางฯ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ผู้ว่าราชการจังหวัด อนุมัติ ปทจ. ผู้ว่าราชการจังหวัด อนุมัติ ข้าราชการ/ ลูกจ้าง คำสั่งจังหวัด..... ที่ .......... มอบอำนาจให้ ปทจ. ปฏิบัติราชการแทน • ปลัดกระทรวง อนุมัติลธก. ส.ป.ก. • ลธก.ส.ป.ก.อนุมัติ ข้าราชการ / พนักงานราชการ /ลูกจ้างฯ คำสั่ง ส.ป.ก. ที่ 274 /2554 ลว. 27 พค. 2554 มอบอำนาจให้ รธก. หัวหน้าผู้ตรวจราชการ ผอ.สำนัก/กอง ปฏิบัติราชการแทน
ผู้มีอำนาจอนุมัติเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายเดินทางฯผู้มีอำนาจอนุมัติเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายเดินทางฯ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ปฏิรูปที่ดินจังหวัด อนุมัติ ข้าราชการ / ลูกจ้าง • ลธก.ส.ป.ก.อนุมัติ ข้าราชการ / พนักงานราชการ /ลูกจ้างฯ คำสั่ง ส.ป.ก. ที่ 274 /2554 ลว. 27 พค. 2554 มอบอำนาจให้ รธก. หัวหน้าผู้ตรวจราชการ ผอ.สำนัก/กอง ปฏิบัติราชการแทน รธก.ส.ป.ก.อนุมัติ ลธก. คำสั่ง ส.ป.ก. ที่ 558/2552
การเดินทางไปราชการ ถ้าผู้เดินทางหยุดอยู่ที่ใดโดยไม่มีเหตุอันควร ไม่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางสำหรับระยะเวลาที่หยุด นั้น (ม. 11)
ลักษณะการเดินทาง ♫ ไปราชการประจำ ♫ ไปราชการชั่วคราว ♫ กลับภูมิลำเนา
ลักษณะการเดินทาง ชั่วคราว ระยะเวลาสั้น มีกำหนดแน่นอน เนื้องานเสร็จสิ้น เมื่อครบกำหนดเวลา ประจำ มีอัตรา ณ สำนักงานแห่งใหม่ ปฏิบัติงานตามที่ได้รับบรรจุ/แต่งตั้ง /ย้าย /โอน ลักษณะประจำ เจตนาให้ไปอยู่นาน / ตลอดไป ไม่มีอัตราว่าง ลักษณะงานไม่สิ้นสุด / มีระยะเวลานาน
การเดินทาง ไปราชการชั่วคราว
เดินทางไปราชการชั่วคราว (มาตรา 13) ปฏิบัติราชการชั่วคราวนอกที่ตั้งสำนักงานตามคำสั่ง ผู้บังคับบัญชา / ตามหน้าที่ราชการปกติ สอบคัดเลือก รับการคัดเลือก ช่วยราชการ รักษาการในตำแหน่งรักษาราชการแทน ข้าราชการประจำต่างประเทศระหว่างอยู่ในไทย เดินทางข้ามแดนชั่วคราวตามข้อตกลงระหว่างประเทศ
สิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่วันได้รับอนุมัติเดินทาง / ออกจากราชการ • ผู้มีอำนาจอนุมัติ : อนุมัติระยะเวลา ก่อน/หลังตามความจำเป็น ผู้ได้รับอนุมัติให้ลากิจ / ลาพักผ่อน ต้องขออนุมัติระยะเวลาดังกล่าวในการเดินทางด้วย
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางชั่วคราว (มาตรา 14) - เบี้ยเลี้ยงเดินทาง - ค่าเช่าที่พัก - ค่าพาหนะ - ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่าย เนื่องในการเดินทางไปราชการ
ค่าเบี้ยเลี้ยง (ม. 15) เบิกได้ในลักษณะเหมาจ่าย ภายในวงเงินและเงื่อนไขที่กระทรวงการคลังกำหนด
อัตราค่าเบี้ยเลี้ยง (เหมาจ่าย) ของกระทรวงการคลัง ประเภท : ระดับ • ทั่วไป :ปฏิบัติงาน , ชำนาญงาน , อาวุโส • วิชาการ :ปฏิบัติการ , ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ • อำนวยการ : ต้น 240 บาท/วัน ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ: เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น , สูง 270 บาท/วัน
เบี้ยเลี้ยงเดินทางของ ส.ป.ก. อัตราที่ 1 ข้ามเขตจังหวัด จาก อ. อื่น ไป อ.เมือง ใน จ. เดียวกัน อัตราที่ 2 ไปต่าง อ. ใน จ. เดียวกัน ยกเว้น อ. เมือง ใน อ. ที่ตั้งสำนักงาน ใน กทม. ที่ตั้งสำนักงาน
คำนวณเบี้ยเลี้ยงอย่างไร (ม. 16) - ออกจากที่อยู่หรือที่ทำงานปกติจนกลับถึงที่อยู่หรือที่ทำงานปกติ - กรณีพักแรม 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษเกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน • กรณีไม่พักแรม เศษเกิน 12 ชม. เป็น 1 วัน เกิน 6 ชม. นับเป็นครึ่ง วัน - กรณีลากิจ / พักผ่อนก่อนปฏิบัติราชการ ให้นับตั้งแต่ เริ่มปฏิบัติราชการ - กรณีลากิจ / พักผ่อน หลัง เสร็จสิ้นปฏิบัติราชการ ให้นับถึง สิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ
ระยะเวลาการเบิกเบี้ยเลี้ยงระยะเวลาการเบิกเบี้ยเลี้ยง ไปราชการเรื่องหนึ่งเรื่องใดในที่แห่งเดียวกัน เบิกได้ไม่เกิน 120 วัน นับแต่วันออกเดินทาง ถ้าเกิน 120 วัน : ต้องได้รับอนุมัติจาก ปลัดกระทรวงเจ้าสังกัดก่อน ( ม.18 ) กรณีเจ็บป่วยระหว่างเดินทาง ต้องพักเพื่อ รักษาพยาบาล ให้เบิกเบี้ยเลี้ยง ได้แต่ต้อง ไม่เกิน 10 วัน (ต้องมีใบรับรองแพทย์ที่ทางราชการรับรอง) หากไม่มีต้องชี้แจงประกอบ ( ม. 21)
ค่าเช่าที่พัก(มาตรา 17) ค่าเช่าที่พัก หมายถึง ค่าใช้จ่ายในการเช่าห้องพักในโรงแรม หรือที่พักแรม * จำเป็นต้องพักแรม ห้ามเบิก กรณี * พักในยานพาหนะ * ทางราชการจัดที่พักให้
กรณีผู้เดินทางไม่เลือกจ่ายจริง กรณีผู้เดินทางไม่เลือกจ่ายจริง ให้เลือกเบิกค่าที่พักเหมาจ่ายได้ • กรณีเดินทางเป็นหมู่คณะ ให้เลือกเบิกค่าเช่า ที่พักในลักษณะเดียวกัน ทั้งคณะ
ระยะเวลาการเบิกค่าที่พัก • การเดินทางไป - กลับ ระหว่างที่ปฏิบัติราชการ กับ สถานที่อยู่ หากไม่สะดวก ให้เบิกค่าเช่าที่พักได้ ไม่เกิน 120 วัน นับแต่วันออกเดินทาง • ถ้าเกิน 120 วัน : ต้องได้รับอนุมัติจาปลัดกะทรวงเจ้าสังกัดก่อน (ม.18) กรณีเจ็บป่วยระหว่างเดินทาง ต้องพักเพื่อรักษาพยาบาล ให้เบิกค่าที่พักได้แต่ต้องไม่เกิน 10 วัน หาก ต้องเข้าพักรักษาตัวในสถานพยาบาล ให้งดเบิกค่าเช่าที่พัก เว้นแต่ กรณีจำเป็น ( ม. 21 ) ท้องที่ที่มีค่าครองชีพสูง / เป็นแหล่งท่องเที่ยว หัวหน้าส่วนราชการอนุมัติ ให้เบิกเพิ่มได้ไม่เกิน 25 %
อัตราค่าเช่าที่พัก ของ กระทรวงการคลัง
หรือ เบิกในลักษณะเหมาจ่าย
การเดินทางฯ เป็นหมู่คณะซึ่งมีผู้บริหารระดับสูง หรือระดับ 10 ขึ้นไปเป็นหัวหน้าคณะ หากจำเป็นต้องใช้สถานที่เดียวกับที่พักเป็นที่ประสานงาน ให้เบิกที่พักได้อีก 1 ห้อง หรือเบิกเป็นห้องชุดแทน (ม.17) • หลักจ่ายจริง ระดับ 8 ลงมา หรือตำแหน่งประเภททั่วไป ปฏิบัติงาน ชำนาญการงาน อาวุโส ประเภทวิชาการ ปฏิบัติการ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ ประเภทอำนวยการ ต้นลงมาให้พักคู่ เว้นแต่ไม่เหมาะสม หรือมีเหตุจำเป็น
เหตุไม่เหมาะสมจะพักร่วมกันเหตุไม่เหมาะสมจะพักร่วมกัน เช่น ต่างเพศมิได้เป็นคู่สมรส • เหตุจำเป็น เช่น เป็นโรคติดต่ออันตรายต่อผู้พักรวมด้วย
ค่าพาหนะ • ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ • ค่าเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก • ค่าจ้างคนหาบหามสิ่งของ ของผู้เดินทาง
ยานพาหนะเดินทาง แบ่งเป็น • พาหนะประจำทาง • พาหนะรับจ้าง • พาหนะส่วนตัว • เครื่องบิน
ค่าพาหนะ (ม. 22) • ในการเดินทางไปราชการ โดยปรกติให้ใช้ยานพาหนะประจำทาง และให้เบิกค่าพาหนะได้เท่าที่จ่ายจริง โดยประหยัด และไม่เกินสิทธิที่จะได้รับ • ในกรณีที่ไม่มียานพาหนะประจำทาง หรือมี แต่ต้องการความรวดเร็ว เพื่อประโยชน์ของทางราชการ ให้ใช้พาหนะอื่นได้ แต่ผู้เดินทางไปราชการต้องชี้แจงเหตุผล และความจำเป็นไว้ในหลักฐานการขอเบิกค่าพาหนะ นั้น
นิยามยานพาหนะประจำทางนิยามยานพาหนะประจำทาง รถไฟรถโดยสารประจำทาง เรือกลประจำทาง และ ยานพาหนะอื่น ที่ให้บริการขนส่งเป็นประจำ โดย บริการบุคคลทั่วไป มีเส้นทางที่แน่นอน อัตราค่าโดยสาร และค่าระวางที่ แน่นอน
การเดินทางโดยยานพาหนะประจำทาง( เบิกเท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัด ไม่เกินสิทธิ ( ม.23) ) • รถโดยสารประจำทาง • ทุกระดับเบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตรา ที่คณะกรรมการขนส่งทางบกกลางกำหนด
ยานพาหนะประจำทาง (ต่อ) • การเดินทางโดยรถไฟ • เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง • รถด่วน/รถด่วนพิเศษ ชั้น 1 นั่งนอนปรับอากาศ เบิกได้ เฉพาะ ทั่วไป : ชำนาญงาน , อาวุโส , ทักษะพิเศษ วิชาการ : ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ , เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : ต้น , สูง บริหาร : ต้น , สูง
ผู้ดำรงตำแหน่ง • ประเภทบริหาร : ต้น สูง • ประเภทอำนวยการ : ต้น สูง • ประเภทวิชาการ : ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ ทรงคุณวุฒิ • ประเภททั่วไป : ชำนาญงาน อาวุโส ทักษะพิเศษ ให้เบิกค่าพาหนะรับจ้างได้ สำหรับกรณี ดังต่อไปนี้ • ไป – กลับระหว่างที่อยู่ ที่พัก หรือที่ปฏิบัติงาน กับ สถานียานพาหนะประจำทาง / สถานที่จัดพาหนะเดินทางไปยังสถานที่ปฏิบัติราชการ ภายในเขตจังหวัดเดียวกัน • ไป – กลับระหว่างที่อยู่ ที่พัก หรือที่ปฏิบัติงาน กับสถานที่ปฏิบัติราชการ ภายในเขตจังหวัดเดียวกัน วันละไม่เกิน 2 เที่ยว • การเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร
กรณีการเดินทาง ไป – กลับระหว่าง ที่อยู่ ที่พัก หรือที่ปฏิบัติงาน กับ สถานียานพาหนะประจำทาง / สถานที่จัดพาหนะเดินทางไปยังสถานที่ปฏิบัติราชการ ข้ามเขตจังหวัด (ที่ กค 0409.6/ว 78 ลว. 15 ก.ย. 2549) ให้เบิกค่าพาหนะรับจ้างได้เท่าที่จ่ายจริง ในอัตรา • เขตติดต่อ หรือ ผ่าน กทม. เที่ยวละไม่เกิน 600 บาท • เขตติดต่อจังหวัดอื่น เที่ยวละไม่เกิน 500 บาท
ผู้ไม่มีสิทธิเบิกค่าพาหนะรับจ้าง เช่น ระดับปฏิบัติงาน ปฏิบัติการ ลูกจ้าง หากมีสัมภาระ หรือสิ่งของเครื่องใช้ของทางราชการ และเป็นเหตุไม่สะดวกที่จะใช้ยานพาหนะประจำทาง ให้เบิกค่าพาหนะรับจ้างได้ • การเดินทางไปสอบคัดเลือกหรือรับการคัดเลือก เบิกค่าพาหนะรับจ้างไม่ได้
พาหนะส่วนตัว • พาหนะส่วนตัว หมายถึงรถยนต์ส่วนบุคคล หรือรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล ซึ่งไม่ใช่ของทางราชการ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นกรรมสิทธิของผู้เดินทางไปราชการหรือไม่ก็ตาม • จะมีสิทธิเบิกเงินชดเชยในลักษณะเหมาจ่ายได้ ต้องได้รับอนุมัติจาก - ส่วนกลาง : ลธก. / ผู้ได้รับมอบหมาย - ภูมิภาค : ปทจ. • เบิกจ่ายในประเภทค่าพาหนะ
เบิกเงินชดเชยค่าพาหนะส่วนตัวเบิกเงินชดเชยค่าพาหนะส่วนตัว • เบิกตามระยะทาง สั้น และตรง • ตามเส้นทางของกรมทางหลวง (ซึ่ง สะดวก ปลอดภัย) • ไม่มีเส้นทางของกรมทางหลวง ให้ใช้เส้นทางของหน่วยงานอื่นที่ตัดผ่าน เช่น เส้นทางของเทศบาล • ไม่มี ให้ผู้เดินทางรับรองระยะทาง
อัตราค่าพาหนะส่วนตัว ( ที่ กค 0409.6/ ว.42 ลว. 26 ก.ค. 2550) - รถยนต์ กม. ละ 4 บาท - รถจักรยานยนต์ กม. ละ 2 บาท
การเดินทางโดยเครื่องบินการเดินทางโดยเครื่องบิน อัตราชั้นธุรกิจ อัตราชั้นประหยัด อำนวยการ ต้น ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ ชำนาญงาน อาวุโส (หรือระดับ 6 – 8) กรณีจำเป็นเร่งด่วน เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ สำหรับผู้ที่ระดับ ชั้น ยศที่ต่ำกว่า • หัวหน้าคณะผู้แทนรัฐบาล • ประธาน/รอง ศาลฎีกา • ประธาน /รอง รัฐสภา • ประธาน/รอง วุฒิสภา • ประธาน/รอง สภาผู้แทนราษฎร • รัฐมนตรี • ผู้บริหารระดับต้น – สูง • อำนวยการสูง เชี่ยวชาญ ทรงคุณวุฒิ ทักษะพิเศษ (หรือระดับ 9 ขึ้นไป)
การเดินทางที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ จะเบิกค่าใช้จ่ายได้ไม่เกินค่าพาหนะในการเดินทางภาคพื้นดิน ระยะเดียวกันตามสิทธิซึ่งผู้เดินทางจะพึงเบิกได้ • ในกรณีที่ผู้เดินทาง มีความจำเป็นต้องโดยสารเครื่องบินชั้นที่สูงกว่าสิทธิ จะเบิกชั้นที่สูงกว่าสิทธิได้ เมื่อได้รับความตกลงจากกระทรวงการคลัง
หลักฐานการเบิกค่าเครื่องบินหลักฐานการเบิกค่าเครื่องบิน (ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.6/ว 101 ลว. 9 ก.ย. 2547) 1. กรณีมีหนังสือให้บริษัทออกบัตรโดยสารให้ก่อน ให้ใช้ใบแจ้งหนี้เป็นหลักฐานในการเบิกเงิน 2. กรณีจ่ายเป็นเงินสด ให้ใช้หลักฐาน ใบเสร็จรับเงิน และ กากบัตรโดยสาร 3. กรณีซื้อ E-Ticket ให้ใช้ใบรับเงินที่แสดงรายละเอียดการเดินทาง (Itinerary Receipt)
ค่าพาหนะ กรณีเดินทางล่วงหน้า หรือไม่เดินทางกลับที่ตั้งเมื่อปฏิบัติงานเสร็จ เพราะมีเหตุส่วนตัว (ม 8/1) ให้เบิกค่าพาหนะได้เท่าที่จ่ายจริง ตามเส้นทางที่ได้รับคำสั่งให้เดินทาง กรณีเดินทางนอกเส้นทางในระหว่างการลา (ลาล่วงหน้า หรือลาหลังปฏิบัติราชการเสร็จ) ให้เบิกค่าพาหนะได้เท่าที่ จ่ายจริงไม่เกินเส้นทางที่ได้รับคำสั่งให้เดินทาง
กรณีทำหน้าที่เลขานุการ (ม. 28) • ทำหน้าที่เลขานุการ หัวหน้าคณะระดับ 9 ขึ้นไป • จำเป็นต้องเดินทางพร้อมกัน * เบิกค่าพาหนะได้เท่ากับผู้บังคับบัญชา * พักแรมที่เดียวกัน เบิกได้ตามสิทธิที่ตนเองได้รับ หรือตามจ่ายจริงในอัตราต่ำสุดของที่พักนั้น แต่ไม่เกินสิทธิของผู้บังคับบัญชา • เลขานุการมีหลายคน เบิกตามอัตราข้างต้นได้เพียงคนเดียว นอกนั้นเบิกตามสิทธิ