1.01k likes | 1.58k Views
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ผลการปฏิบัติงาน ลำดับที่ 1. การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกใช้วัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ ( ปี พ.ศ.2553 ). โดย. นายก ฤษฎา โภ คากร ตำแหน่งวิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ (ตำแหน่งเลขที่ 6821 ) กลุ่มด้านวิจัยและพัฒนา สำนักวิจัยและพัฒนา.
E N D
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผลการปฏิบัติงาน ลำดับที่ 1 การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกใช้วัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ ( ปี พ.ศ.2553 ) โดย นายกฤษฎาโภคากร ตำแหน่งวิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ(ตำแหน่งเลขที่ 6821 ) กลุ่มด้านวิจัยและพัฒนา สำนักวิจัยและพัฒนา เพื่อพิจารณาให้ดำรงตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญวิศวกรรมโยธา (ด้านวัสดุวิศวกรรมชลประทาน) วิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ (ตำแหน่งเลขที่ 9821 ) กลุ่มด้านวิจัยและพัฒนา สำนักวิจัยและพัฒนา
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ผลการปฏิบัติงาน ลำดับที่ 1 1. ชื่อผลงาน การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกใช้วัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำ แบบท่อส่งน้ำ 2. ระยะเวลาดำเนินการ ปี พ.ศ.2553 นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ 3. ความรู้ทางวิชาการหรือแนวคิดที่ใช้ในการดำเนินการ (1) ด้านวัสดุวิศวกรรม (2) ด้านวิศวกรรมการผลิต (3) ด้านการวางโครงการ (4) วิศวกรรมชลศาสตร์ (5) วิศวกรรมชลประทาน (6) วิศวกรรมโครงสร้าง (7) การคำนวณปริมาณงานและการประมาณราคาค่าก่อสร้าง นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ 4. สรุปสาระสำคัญและขั้นตอนการดำเนินงาน นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ เรื่องเดิม เนื่องจาก วัสดุท่อส่งน้ำที่ใช้ในการก่อสร้างโครงการชลประทาน จำแนกออกได้เป็น 5 ประเภท ได้แก่ ท่อซีเมนต์ใยหิน, ท่อเหล็ก, ท่อ P.V.C., ท่อ H.D.P.E. และ ท่อ GRP. ซึ่งเป็นท่อส่งน้ำแบบรับแรงดัน โดยท่อแต่ละชนิดมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันตามวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตท่อ ในการออกแบบรายละเอียดโครงการ จึงจำเป็นต้องมีการพิจารณาให้เหมาะสมตามลักษณะการใช้งาน ตามสภาพภูมิประเทศ และงบประมาณค่าดำเนินการก่อสร้างโครงการ ปัจจัยการเลือกใช้วัสดุท่อจึงเป็นเรื่องที่ยากในการตัดสินใจ ที่จะเลือกใช้ท่อชนิดใดในการก่อสร้างโครงการ เนื่องจากมีหลายประเด็นที่ต้องคำนึงและปัจจุบันไม่มีหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกท่อส่งน้ำที่แน่นอน คงขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ออกแบบเป็นสำคัญ นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวัสดุท่อส่งน้ำรับแรงดันประเภทต่าง ๆ และกำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกวัสดุท่อส่งน้ำรับแรงดัน ที่จะนำมาใช้ในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ขอบเขตการศึกษา 1. วัสดุท่อส่งน้ำรับแรงดันที่ศึกษา ได้แก่ ท่อเหล็ก ท่อ P.V.C. ท่อ AC. ท่อ H.D.P.E. และท่อ G.R.P. 2. ขนาดของท่อที่ศึกษามีเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 – 1,200 มิลลิเมตร ความดันใช้งานไม่เกิน 12.50 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร 3. ดำเนินการศึกษา 4 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณสมบัติ ด้านราคาท่อ ด้านการซ่อมแซมและบำรุงรักษา และการกำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือก 4. ใช้ข้อมูลจากโครงการปรับปรุงวางท่อส่งน้ำจากเขื่อนเพชรไป อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี และ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ มาเป็นกรณีศึกษา นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ วิธีการศึกษา 1. ศึกษาและวิเคราะห์คุณสมบัติด้านต่างๆ ของท่อทั้ง 5 ชนิด 2. ศึกษาและวิเคราะห์เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือก 3. นำข้อมูลผลการศึกษาและวิเคราะห์ จากข้อ 1 และ 2 มาใช้เป็น กรณีศึกษาในโครงการปรับปรุงวางท่อส่งน้ำจากเขื่อนเพชรไป อ.ชะอำ และ อ.หัวหิน เพื่อเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน 4. สรุปผลการศึกษาและให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติม นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทราบผลการศึกษาด้านคุณสมบัติการใช้งานของท่อแต่ละประเภท 2. ทราบผลการศึกษาด้านราคาของท่อส่งน้ำแต่ละประเภทและข้อเปรียบเทียบ 3. ทราบหลักเกณฑ์การคัดเลือกชนิดวัสดุท่อส่งน้ำรับแรงดันที่จะนำมาใช้งานในการก่อสร้างโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ 4. ทราบข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ เพื่อศึกษาวิจัยเกี่ยวกับวัสดุท่อส่งน้ำของ กรมชลประทานและสนับสนุนข้อมูลเพิ่มเติม นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ การศึกษาวัสดุท่อส่งน้ำรับแรงดันด้านคุณสมบัติและการนำมาใช้งาน นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ คุณสมบัติและการนำมาใช้งานของท่อเหล็ก (STEEL PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อเหล็ก (STEEL PIPE) ท่อเหล็ก คือ ท่อตรงผลิตจากเหล็กกล้าม้วนและเชื่อมด้วยไฟฟ้า มีเส้นผ่านศูนย์กลางภายในสม่ำเสมอ นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อเหล็ก (STEEL PIPE) คุณสมบัติ ท่อเหล็กจะต้องมีคุณสมบัติตาม มอก.427-2531 “ท่อเหล็กกล้าเชื่อมด้วยไฟฟ้าสำหรับส่งน้ำ” สามารถทนแรงดันใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 1.0 เมกะพาสคัลหรือ 10 กก./ตร.ซม. การผลิตท่อเหล็กเหนียว ท่อเหล็กผลิตจากเหล็กเหนียวแผ่นที่ผ่านการทดสอบตามข้อกำหนดในมาตรฐาน นำมาม้วนขึ้นรูปแล้วเชื่อมเป็นรูปท่อเคลือบภายในและภายนอกตามมาตรฐาน นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ การพิจารณาเลือกใช้วัสดุท่อส่งน้ำในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเพชรบุรี กลุ่มพิจารณาโครงการ สำนักชลประทานที่ 14 ท่อเหล็ก (STEEL PIPE) ขนาดระบุ ท่อเหล็กระบุขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก ความหนาท่อและน้ำหนักท่อต่อหนึ่งหน่วยความยาว เช่น ท่อ 1,000 มม. มีเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก 1,016 มม. มีความหนาท่อ ตั้งแต่ 7.9 9.5 11.1 12.7 15.9 น้ำหนักเป็นกิโลกรัมต่อความยาว 1 เมตร เท่ากับ 196.4 235.8 275.1 314.2 และ 392.2 ตามลำดับ คุณสมบัติการต้านทานต่อสภาพแวดล้อม ท่อเหล็กมีคุณสมบัติต้านทานต่อการกัดกร่อน และต้านทานต่อสารเคมีได้ต่ำ อุณหภูมิใช้งานไม่ควรเกิน 60 องศาเซลเซียส แต่มีความสามารถในการรับแรงดันได้สูง นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อเหล็ก (STEEL PIPE) การนำมาใช้งาน ท่อเหล็กความแข็งแรงของท่อ ขึ้นอยู่กับความหนาและคุณสมบัติของแผ่นเหล็กที่ใช้ เหมาะสำหรับใช้วางบนดิน วางใต้ดิน วางข้ามแม่น้ำ ลำคลอง วางเกาะสะพาน วางลอดถนน เนื่องจาก ราคาแพงและอาจเกิดสนิมได้ง่ายเมื่อฝังไว้ใต้ดิน ส่วนใหญ่จึงใช้เฉพาะส่วนที่โผล่เหนือผิวดิน หรือบริเวณที่ต้องรับแรงกดจากภายนอกมาก แต่ไม่เหมาะกับแนวท่อที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับหรือทิศทางบ่อย ๆ การซ่อมแซมทำได้ไม่สะดวกเพราะท่อมีน้ำหนักมาก การต่อท่อแยกหรือการตัดเปลี่ยนหรือการซ่อมแซมสามารถหาอุปกรณ์ได้ง่าย แต่ต้องใช้ผู้ชำนาญ ปัญหาที่พบบ่อยสำหรับท่อเหล็ก คือ เป็นสนิมทำให้อายุการใช้งานท่อลดลง โดยเฉพาะการใช้งานในพื้นที่ดินเค็ม หรือน้ำเค็มหากไม่มีระบบป้องกันการกัดกร่อนโดยใช้ Cathodic Protection อายุการใช้งานของท่อเหล็กจะลดลง นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อเหล็ก (STEEL PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อเหล็ก (STEEL PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ คุณสมบัติและการนำมาใช้งานของท่อ P.V.C. (POLYVINYL CHLORIDE PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ P.V.C. (POLYVINYL CHLORIDE PIPE) ท่อ P.V.C. คือ ท่อที่ผลิตขึ้นจากโพลิไวนิลคลอไรด์ โดยไม่ผสมพลาสติกไซเซอร์ นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ P.V.C. (POLYVINYL CHLORIDE PIPE) คุณสมบัติ ท่อ P.V.C. จะต้องมีคุณสมบัติตาม มอก.17-2532 “ท่อพีวีซีแข็งสำหรับใช้เป็นท่อน้ำดื่ม” การผลิตท่อ P.V.C. ท่อ P.V.C. เป็นท่อพลาสติกประเภทเทอร์โมพลาสติก ประกอบด้วยสารสังเคราะห์พีวีซี. โพลิไวนิลคลอไรด์สเตบิไลเซอร์ และสี ตามมาตรฐาน มอก.17 เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกมีขนาดอยู่ระหว่าง 18-600 มม. ยาวท่อนละ 4.00 เมตร และ 6.00 เมตร นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ P.V.C. (POLYVINYL CHLORIDE PIPE) ชั้นคุณภาพ ท่อ P.V.C. ตาม มอก.17-2532 แบ่งออกเป็น 3 ชั้นคุณภาพ ตามความดัน ได้แก่ - ชั้นคุณภาพ 5 (Class 5) รับแรงดันใช้งาน 5.0 กก. / ตร.ซม. - ชั้นคุณภาพ 8.5 (Class 8.5) รับแรงดันใช้งาน 8.5 กก. / ตร.ซม. - ชั้นคุณภาพ 13 (Class 13) รับแรงดันใช้งาน 13.0 กก. / ตร.ซม. คุณสมบัติการต้านทานต่อสภาพแวดล้อม ท่อ P.V.C. มีคุณสมบัติต้านทานต่อการกัดกร่อนได้เป็นอย่างดี ทนต่อสารเคมีได้เกือบทุกประเภท อุณหภูมิใช้งานไม่ควรเกิน 60 องศาเซลเซียส แต่ไม่ทนต่อแสง UV ไม่เป็นสนิมและไม่จับคราบหินปูน นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ P.V.C. (POLYVINYL CHLORIDE PIPE) การนำมาใช้งาน การขนส่งและเก็บรักษาท่อพลาสติก ต้องปฏิบัติตามคำแนะนำของผู้ผลิต และต้องทำด้วยความระมัดระวังเพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่ท่อ ห้ามลากท่อไปบนผิวดินหรือผิวถนนและต้องระวังมิให้ท่อกระทบกระแทกกับสิ่งมีคมต่างๆ โดยเฉพาะปลายท่อที่ต่อด้วยข้อต่อแบบหัวสวมกันรั่วด้วยแหวนยางจะต้องมีสิ่งที่ห่อหุ้มปลายท่อ เพื่อป้องกันความเสียหายเนื่องจากการขุดดินหรือถูกทำให้เป็นรอยโดยวิธีการต่างๆ ท่อจะต้องเก็บไว้ในร่มที่มีอากาศถ่ายเทดี หากจำเป็นต้องเก็บรักษากลางแจ้ง ต้องมีสิ่งห่อหุ้มปกคลุมท่อที่เหมาะสมเพื่อมิให้ท่อถูกแสงแดดโดยตรงและมิให้ท่อสกปรกเปรอะเปื้อน ความสูงของกองท่อต้องไม่สูงกว่าที่ผู้ผลิตแนะนำและต้องมีไม้หมอนหนุนท่อที่ชั้นล่างสุด การหนุนด้วยไม้หมอนจะต้องจัดระยะระหว่างไม้หมอนให้เหมาะสมเพื่อป้องกันการโค้งบิดงอของตัวท่อ นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ P.V.C. (POLYVINYL CHLORIDE PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ P.V.C. (POLYVINYL CHLORIDE PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ คุณสมบัติและการนำมาใช้งานของท่อ A.C. (ASBESTOS CEMENT PRESSURE PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ A.C. (ASBESTOS CEMENT PRESSURE PIPE) ท่อ A.C. คือ ท่อที่ทำขึ้นด้วยปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ใยหิน หรืออาจมีเส้นใยอื่นผสมและน้ำ ใช้ในงานประปาและงานอื่นที่เหมาะสม นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ A.C. (ASBESTOS CEMENT PRESSURE PIPE) คุณสมบัติ ท่อ A.C. จะต้องมีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.81-2548 “ท่อซีเมนต์ใยหินชนิดทนความดัน” การผลิตท่อ A.C. ท่อ A.C. ที่ผลิตตามมาตรฐาน มอก.81-2548 เส้นผ่านศูนย์กลางภายในมีขนาดอยู่ระหว่าง 100-1,000 มม. ยาวท่อนละ 4.00 เมตร และ 5.00 เมตร นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ A.C. (ASBESTOS CEMENT PRESSURE PIPE) ชั้นคุณภาพ ท่อ A.C. ตาม มอก.81-2548 แบ่งออกเป็น 12 ชั้นคุณภาพ ตามแรงดันทดสอบ ได้แก่ PP5, PP6, PP10, PP12, PP15, PP18, PP20, PP24, PP25, PP30, PP35 และ PP36 โดยแรงดันใช้งานจะเท่ากับครึ่งหนึ่งของแรงดันทดสอบในแต่ละชั้นคุณภาพ คุณสมบัติการต้านทานต่อสภาพแวดล้อม ท่อ A.C. มีคุณสมบัติต้านทานต่อการกัดกร่อนได้เป็นอย่างดี แต่ไม่ทนทานต่อสารเคมี จึงไม่ควรใช้ในบริเวณที่มีพื้นดินเค็ม อุณหภูมิใช้งานไม่ควรเกิน 60 องศาเซลเซียส ทนต่อแสง UV ผิวภายในท่อจะมีการขยายตัวเนื่องจากความชื้นเมื่ออายุการใช้งานมากขึ้น นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ A.C. (ASBESTOS CEMENT PRESSURE PIPE) การนำมาใช้งาน ท่อ A.C. เหมาะสำหรับใช้วางใต้ดินและบนดิน แต่ไม่เหมาะที่จะวางบนดินในบริเวณที่อาจถูกกระแทกได้ง่าย เนื่องจากท่อมีความเปราะและมีโอกาสตกท้องช้างเนื่องจากน้ำหนักน้ำในท่อหากระยะห่างของฐานรองรับท่อไม่เหมาะสม ไม่เหมาะกับแนวท่อที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับหรือทิศทางบ่อยๆ เพราะต้องใช้ข้อต่อมากทำให้มีโอกาสเกิดการแตกรั่วมากขึ้น การซ่อมแซมไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษ ไม่ต้องใช้ผู้ชำนาญเฉพาะ ท่อ A.C. Type I ไม่ทนทานต่อซัลเฟต จึงไม่ควรใช้บริเวณชายทะเลหรือบริเวณที่มีดินซัลเฟตผสมอยู่สูง ควรใช้ท่อ Type V แทน ปัญหาสำหรับท่อ A.C. คือ มีการแตกรั่ว แตกหัก และแตกระเบิดได้ง่ายกว่าท่อชนิดอื่น ท่อ A.C. มีอายุการใช้งานประมาณ 30 ปี นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ A.C. (ASBESTOS CEMENT PRESSURE PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ คุณสมบัติและการนำมาใช้งานของท่อ HDPE. (HIGH DENSITY POLYETHYLENE PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ HDPE. (HIGH DENSITY POLYETHYLENE PIPE) ท่อ HDPE. คือ ท่อที่ผลิตขึ้นจากโพลิเอทีลีน (PE.) ความหนาแน่นสูงไม่น้อยกว่า 0.95 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ HDPE. (HIGH DENSITY POLYETHYLENE PIPE) คุณสมบัติ ท่อ HDPE. จะต้องมีคุณสมบัติตาม มอก.982-2548 “ท่อโพลิเอทีลีนความหนาแน่นสูงสำหรับใช้เป็นท่อน้ำดื่ม” การผลิตท่อ HDPE. ท่อ HDPE. เป็นท่อพลาสติกประเภทเทอร์โมพลาสติก ผลิตตามมาตรฐาน มอก.982-2548 เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกมีขนาดอยู่ระหว่าง 18-1,200 มม. ยาวท่อนละ 6.00 เมตร และ 12.00 เมตร นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ HDPE. (HIGH DENSITY POLYETHYLENE PIPE) ชั้นคุณภาพ ท่อ HDPE. ตาม มอก.982-2548 แบ่งออกเป็น 10 ชั้นคุณภาพ ตามความดัน ได้แก่ PN3.2, PN4, PN6, PN6.3, PN8, PN10, PN12.5, PN16, PN20 และ PN25 ความดันใช้งานที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส คุณสมบัติการต้านทานต่อสภาพแวดล้อม ท่อ HDPE. มีคุณสมบัติทนทานต่อการกัดกร่อนดีเป็นพิเศษ ทนต่อสารเคมีได้ทุกชนิด แต่เป็นเชื้อเพลิง อุณหภูมิใช้งานไม่ควรเกิน 60 องศาเซลเซียส ทนต่อแสง UV ได้จำกัด ไม่เป็นสนิมและไม่จับคราบหินปูน นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ HDPE. (HIGH DENSITY POLYETHYLENE PIPE) การนำมาใช้งาน ท่อ HDPE. เหมาะสำหรับใช้วางใต้ดิน เหมาะกับแนวท่อที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับหรือทิศทางบ่อย ๆ สามารถวางท่อในบริเวณที่ลุ่มมีน้ำขังหรือวางใต้น้ำหรือบริเวณที่ดินอ่อนได้ การซ่อมแซมท่อทำได้ไม่สะดวกเพราะอุปกรณ์ท่อหายากต้องใช้เครื่องมือและผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ พบปัญหาการรั่วซึมไม่มากเว้นแต่รอยเชื่อมไม่ดี และหากการกลบฝังไม่ถูกวิธี ท่อลอยพ้นผิวดินอาจเกิดเพลิงไหม้ได้ นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ HDPE. (HIGH DENSITY POLYETHYLENE PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ HDPE. (HIGH DENSITY POLYETHYLENE PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ คุณสมบัติและการนำมาใช้งานของท่อ GRP. (GLASSFIBER REINFORCE POLYESTER PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ GRP. (GLASSFIBER REINFORCE POLYESTER PIPE) ท่อ GRP. คือ ท่อที่ผลิตขึ้นจากเทอร์โมเซตติงเรซินเสริมแรงดันใยแก้ว และอาจมีตัวเติมเป็นเม็ดหรือแผ่น ผงสีหรือสีย้อมผสม และอาจมีเรซินเคลือบผวิภายนอกหรือภายใน นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ GRP. (GLASSFIBER REINFORCE POLYESTER PIPE) คุณสมบัติ ท่อ GRP. จะต้องมีคุณสมบัติตาม มอก.1483 “ท่อไฟเบอร์กลาส์รับแรงดันสำหรับงานประปา” การผลิตท่อ GRP. ท่อ GRP. ผลิตตามมาตรฐาน มอก.1483 เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกมีขนาดอยู่ระหว่าง 300-2,400 มม. ยาวท่อนละ 6.00 เมตร 9.00 เมตร และ 12.00 เมตร นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ GRP. (GLASSFIBER REINFORCE POLYESTER PIPE) ชั้นคุณภาพ ท่อ GRP. ตาม มอก.982-2548 แบ่งออกเป็น 3 ชั้นคุณภาพ ตามความดัน ได้แก่ - ชั้นคุณภาพ PN 6 รับแรงดันใช้งาน 6 กก./ตร.ซม. - ชั้นคุณภาพ PN 10 รับแรงดันใช้งาน 10 กก./ตร.ซม. - ชั้นคุณภาพ PN 16 รับแรงดันใช้งาน 16 กก./ตร.ซม. คุณสมบัติการต้านทานต่อสภาพแวดล้อม ท่อ GRP. มีคุณสมบัติทนทานต่อการกัดกร่อนได้ดี ขยายตัวตามอุณหภูมิได้น้อย เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นความสามารถในการรับแรงภายในท่อไม่เปลี่ยนแปลง ผิวภายในท่อไม่เป็นสนิม นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ GRP. (GLASSFIBER REINFORCE POLYESTER PIPE) การนำมาใช้งาน ท่อ GRP. เหมาะสำหรับใช้วางใต้ดินและบนดิน แต่ไม่เหมาะที่จะวางบนดินในบริเวณที่อาจถูกกระแทกได้ง่าย เนื่องจากท่อมีความเปราะ และมีโอกาสตกท้องช้างเนื่องจากน้ำหนักน้ำในท่อหากระยะห่างของฐานรองรับท่อไม่เหมาะสม และเมื่อวางท่อใต้ดินรับแรงกดมากเกินกำหนดท่อจะเสียรูปทรงทำให้เกิดเสียหาย รั่ว แตก การซ่อมแซมท่อต้องทำทั้งช่วง ไม่สามารถซ่อมเป็นจุด ๆ ได้ ไม่เหมาะกับแนวท่อที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับหรือทิศทางบ่อย ๆ มีโอกาสเกิดการรั่วไหลจากข้อต่อและแหวนยางกันซึม นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ GRP. (GLASSFIBER REINFORCE POLYESTER PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ ท่อ GRP. (GLASSFIBER REINFORCE POLYESTER PIPE) นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ การเปรียบเทียบวัสดุท่อส่งน้ำรับแรงดันประเภทต่างๆ นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ การเปรียบเทียบวัสดุท่อส่งน้ำรับแรงดันประเภทต่างๆ นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ การเปรียบเทียบวัสดุท่อส่งน้ำรับแรงดันประเภทต่างๆ นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ การเปรียบเทียบวัสดุท่อส่งน้ำรับแรงดันประเภทต่างๆ นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ การเปรียบเทียบวัสดุท่อส่งน้ำรับแรงดันประเภทต่างๆ นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554
การกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำการกำหนดเกณฑ์คัดเลือกวัสดุท่อในโครงการพัฒนาระบบส่งน้ำแบบท่อส่งน้ำ โดย นายกฤษฎา โคภากร ตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ การเปรียบเทียบวัสดุท่อส่งน้ำรับแรงดันประเภทต่างๆ นายกฤษฎา โภคากร วิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ มกราคม พ.ศ.2554