1.11k likes | 2.18k Views
วัณโรค. Tuberculosis. หัวข้อ. ระบาดวิทยา วัณโรค การวินิจฉัย การรักษา MDR/XDR วัณโรคในเด็ก วัณโรคและเอดส์ การจัดการกับอาการไม่พึงประสงค์จากยา วัคซีน BCG ,TT. ระบาดวิทยา.
E N D
วัณโรค Tuberculosis
หัวข้อ • ระบาดวิทยา • วัณโรค การวินิจฉัย การรักษา • MDR/XDR • วัณโรคในเด็ก • วัณโรคและเอดส์ • การจัดการกับอาการไม่พึงประสงค์จากยา • วัคซีน BCG ,TT
ระบาดวิทยา วัณโรคเป็นโรคติดต่อทางอากาศ ถ้าไม่รับการรักษา ผู้ป่วยเสมหะบวกแต่ละรายจะสามารถแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้ ปีละ 10-15คน
ประชากรของโลก 2,000 ล้านคนของโลก (1ใน3ของประชากรโลก ) ติดเชื้อวัณโรคแล้ว ( latent tuberculosis ) • 10%ของผู้ติดเชื้อ จะป่วยเป็นวัณโรค แต่ถ้าติดเชื้อเอชไอวีร่วมด้วย จะเสี่ยงมากขึ้นอีกหลายเท่า • ผู้ป่วยวัณโรค1.6 ล้านคน เสียชีวิตใน ปี ค.ศ. 2005 (ประมาณวันละ 4,400ราย)
สถานการณ์วัณโรคของประเทศไทยสถานการณ์วัณโรคของประเทศไทย
เชื้อวัณโรคMycobacterium tuberculosis • ผนังเซลล์มีกรดไขมันมัยโคลิค (mycolic acid) • ทนความแห้งแล้ง ความเป็นกรดด่างในสภาพแวดล้อมได้ดี
เชื้อวัณโรค • ชอบ O2 , อุณหภูมิ 37๐C, pH 6.0 - 7.0 • ถูกทำลายโดย - แสงแดด U.V. ความร้อน 60๐C นาน 20 นาที (pasteurization) • Disinfectant - alcohol, formaldehyde - lysol, phenol, NaOH2% - HCl 3%, oxalic acid5%
เชื้อวัณโรค = Tubercle bacillus เชื้อที่ทำให้เกิดแผลแบบ Tubercle Tubercle bacillus หรือ tuberculosis complex หมายถึง - Mycobacterium tuberculosis = คน - Mycobacterium bovis = วัว, ควาย - Mycobacterium africanum = คน (อัฟริกา) - Mycobacterium microti = สัตว์แทะ ส่วน Mycobacterium species อื่นๆ เรียกว่า NTM (non tuberculous mycobacterium)
NTM (non tuberculous mycobacterium) • M. avium complex ปอด • M. kansasii ปอด ผิวหนัง • M. fortuitum ปอด ผิวหนัง ตา • M. scrofulaceum ผิวหนัง • M. marinum ผิวหนัง • M. ulcerans ผิวหนัง ปกติไม่ก่อโรคในคนที่มีภูมิต้านทานปกติ แหล่งรังโรคมักพบที่สัตว์ ดิน น้ำ เป็ด ไก่ สัตว์ทะเล
การติดต่อ • ทางหายใจเป็นทางติดต่อที่สำคัญที่สุด การไอ จาม พูดเสียงดัง • ทางอื่นๆเช่น ทางผิวหนังจากแผลที่ติดเชื้อ การสัมผัสสิ่งของเครื่องใช้ • หรือทางอาหารเกิดได้เช่นกันแต่มีโอกาสน้อยเมื่อเทียบกับทางเดินหายใจ การกิน ดื่มนมวัวที่มีเชื้อ • การไอครั้งหนึ่งเกิดละอองเสมหะในบรรยากาศได้ถึง 3,000 droplet nuclei ( เท่ากับการพูด 5 นาที )
ละอองเสมหะขนาดใหญ่จะตกลงพื้น เมื่อเสมหะแห้งแล้วอาจเกิดละอองของเชื้อขนาดเล็กและมีโอกาสฟุ้งกระจายจากพื้นได้อีกครั้งหากมีลมหรือการกวาดที่ฟุ้งกระจายมาก • ละอองเสมหะที่สำคัญและสามารถลงสู่ถุงลมปอดได้คือละอองขนาดเล็กกว่า 5 ไมครอน
สาเหตุของการป่วยเป็นวัณโรคในคนทั่วไปสาเหตุของการป่วยเป็นวัณโรคในคนทั่วไป • ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อเดิมที่มีอยู่ในร่างกาย Reactivation form old infection (90%) :HIV,DM,Malnutrition,Cancer • ส่วนน้อยเกิดจากการติดเชื้อใหม่ Newly acquire infection (10%)
Caseation Solid caseous material Liguefaction Phagocytosis Cavity ระยะแผลโพรง The Bacterial Population Macrophage มีเชื้อ <แสนตัว105 pHเป็นกรด มีเชื้อ <แสนตัว 105pH ปกติ เชื้อประมาณ 100 ล้านตัว (108 ) pH ปกติ
Clinical presentation of TB lymphadenopathy
Clinical presentation of TB lymphadenopathy
อาการ 1. อาการที่พบบ่อยที่สุด ไอมีเสมหะเกิน 2 สัปดาห์ และ / หรือ ไอปนเลือด 2. อาการอื่นๆน้ำหนักลด ไข้ เหงื่อออกตอนกลางคืน เจ็บหน้าอก หายใจหอบ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ระยะของโรค • แบ่งออกเป็น 2 ระยะ • ระยะติดเชื้อ ไม่มีอาการTuberculin skin test ให้ผลบวก ผลตรวจเอ็กซเรย์ปอดปกติ • ระยะป่วย มีอาการ ผลตรวจเอ็กซเรย์ปอดผิดปกติ
ภาวะแทรกซ้อน • มี 2 รูปแบบที่รุนแรง • Miliary TB ส่วนใหญ่มักพบที่ปอด ตับ ม้าม ไขกระดูก 40% ของผู้ป่วยผลการทดสอบ Tuberculin เป็นลบ • TB Meningitis มีอาการไข้สูง ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย กระสับกระส่าย ซึม บางรายมีอาการชักเกร็ง
หลักการวินิจฉัยวัณโรคหลักการวินิจฉัยวัณโรค • M+ - เสมหะบวก 2 ครั้ง - เสมหะบวก 1 ครั้ง + Chest X- Ray • M- - เสมหะลบ 3 ครั้ง + Chest X- Ray + แพทย์ให้การวินิจฉัย • EP - วินิจฉัยตามอวัยวะ พยาธิสภาพ • การเพาะเชื้อ Culture
ทำไมต้องตรวจเสมหะ • ภาพรังสีทรวงอกความไวสูง แต่ความจำเพาะต่ำ • ลักษณะที่บ่งว่าน่าจะเป็นวัณโรค fibronodular ที่ยอดปอด ลักษณะแผลโพรง • การศึกษาที่ประเทศญี่ปุ่น ในแพทย์192 คน มีอัตรา under reading 21.8% over reading 19.5%
การตรวจเสมหะ AFB • Collected อย่างน้อย 1 ครั้ง (ดีกว่า Spot 2 - 19%) เช่น : มาครั้งแรก - Spot 1 ครั้ง ถ้าสงสัยมาก นัดมาพรุ่งนี้ - Collected 1 ครั้ง - Spot 1 ครั้ง ถ้าสงสัยโรคอื่น เช่น ปอดบวม – รักษาไปก่อน (ATBS) นัดมา 1 สัปดาห์ - Collected 1 ครั้ง - Spot 1 ครั้ง
หลักการรักษาวัณโรค วิธีการ -ให้ยาหลายชนิดพร้อมกัน -ให้ยานานพอ
หลักการรักษาวัณโรค • ไม่มีการรักษาด้วยยาเพียงชนิดเดียว • สูตรมาตรฐานทั่วไป 6 เดือนที่ประกอบด้วย RIF&PZA • ห้ามให้ยาเพิ่มทีละ 1 ชนิด ในรายที่การรักษาล้มเหลว หรือ กำลังจะล้มเหลว
ทำไมต้องใช้ยามากกว่า 1 ตัวในการรักษาวัณโรค ? Natural resistant mutant :เชื้อต้านยาตามธรรมชาติ INH มีประมาณ 1 ใน 105 (1/105) SM มีประมาณ 1 ใน 106 (1/106) RMP มีประมาณ 1 ใน 107 (1/107)
ยารักษาวัณโรคปอด First line drug • Isoniazid (INH) • Rifampicin (R) • Pyrazinamide ( PZA) • Etambutol ( E ) • Streptomycin( S )
Isoniazid (INH) • ออกฤทธิ์ได้ดีในเชื้อที่กำลังแบ่งตัว • อาการไม่พึงประสงค์ : ปลายประสาทอักเสบ เวียนศรีษะ พิษต่อตับ เพราะฉะนั้นควรระวังในผู้ป่วยโรคตับ • ให้ vitamin B6
Rifampicin (R) • ออกฤทธิ์ทำให้แบคทีเรียสังเคราะห์ RNA ไม่ได้ • อาการไม่พึงประสงค์ : คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ตับอักเสบ ผื่นขึ้น Flu like syndrome ( ให้ยาแก้ปวด หรืออาจลด dose ลง 150mg 3-5 วัน) ควรระวังในผู้ป่วยโรคตับ
Pyrazinamide ( PZA) • ออกฤทธิ์ได้ดีต่อเชื้อที่อยู่ใน macrophage โดยใช้ร่วมกับ INH และ R • ระวังในโรคตับ • อาการไม่พึงประสงค์ : ปวดข้อ ให้ยาแก้ปวด
Etambutol ( E ) • เป็น Bacteriostatic โดยใช้ร่วมกับ INH และ R • อาการไม่พึงประสงค์ : ตามัว ตาบอดสี • ไม่ควรใช้ในเด็ก
Streptomycin( S ) • ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของเชื้อ • อาการไม่พึงประสงค์ : พิษต่อหู พิษต่อไต การทรงตัว ขึ้นกับขนาดที่ใช้ • ระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
กลไกการออกฤทธิ์ของยาฆ่าเชื้อวัณโรค(Bactericital)กลไกการออกฤทธิ์ของยาฆ่าเชื้อวัณโรค(Bactericital) เร็ว INH (RMP,SM) การเจริญแบบต่อเนื่องContinuous Growth อัตราการเติบโตของเชื้อ pH เป็นกรด แบ่งตัว เป็นระยะ หลับDormant PZA RMP ช้า