310 likes | 908 Views
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI). วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ผู้เรียน. เข้าใจองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง รู้จักรูปแบบของการทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพและตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม เข้าใจแนวคิดการเปลี่ยนแปลงที่เป็นพื้นฐานของการพัฒนาคุณภาพ
E N D
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI) วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน • เข้าใจองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง • รู้จักรูปแบบของการทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพและตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม • เข้าใจแนวคิดการเปลี่ยนแปลงที่เป็นพื้นฐานของการพัฒนาคุณภาพ • มีประสบการณ์ในการทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพร่วมกันเป็นทีม สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:01
องค์ประกอบของ CQI • ขั้นตอนของ CQI • เครื่องมือสำหรับการพัฒนาคุณภาพ • ความคิดสร้างสรรค์กับการพัฒนาคุณภาพ • ข้อมูลทางวิชาการ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:02
ขั้นตอน: กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:03
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพเครื่องมือพัฒนาคุณภาพ • เครื่องมือสำหรับการทำงานเป็นทีม ระดมความคิด จัดระบบความคิด ตัดสินใจ • เครื่องมือสำหรับการจัดการกับข้อมูลอย่างเป็นระบบ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอข้อมูล สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:04
กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ • ถ้าท่านวิ่งหนีศัตรูไปถึงหน้าผา และพบว่าตรงหน้าผานั้นมีเชือกเล็กๆเส้นหนึ่งห้อยอยู่ ท่านจะตัดสินใจอย่างไร? • พัดลมกับนาฬิกาเหมือนกันหรือไม่? • จะเกิดอะไรขึ้นถ้าดินสอเดินได้? • จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเลือดไม่ติดถุงมือ? • จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเอาเครื่องซักผ้ามาใช้กับกระบอกฉีดยา? • จงบอกลักษณะของก้อนเมฆแล้วเปลี่ยนลักษณะเหล่านี้ให้เป็นความคิดเห็นของท่านที่มีต่อหน้าที่การทำงานของท่าน สัมพันธภาพในหมู่มิตรสหาย? • จงบอกสิ่งท้าทายที่สุนัขตัวหนึ่งเผชิญอยู่เป็นประจำมา 5 ปัญหา และให้บอกปัญหาที่เราต้องเผชิญคล้ายกับสุนัขมา 3 ปัญหา. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:05
รูปแบบ CQI ที่เรียบง่ายและเร่งการพัฒนา เน้นการทดสอบขนาดเล็ก ทดสอบต่อเนื่อง ทดสอบหลายเรื่องพร้อมกัน สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:06
ตัวอย่าง • ก. ตั้งเป้า • ลดระยะเวลานอน ICU ของผู้ป่วยที่มีระบบการหายใจล้มเหลวและต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ • ข. เฝ้าดู ระยะเวลานอนในหอผู้ป่วยหนัก และระยะเวลานอนโรงพยาบาลทั้งหมด จำนวนวันที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ (median) ค่าใช้จ่ายต่อการนอนโรงพยาบาล (median) ร้อยละของผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน (การเสียชีวิต, การเข้านอนซ้ำ, การใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำ) • ค. ปรับเปลี่ยน 1. การใช้เครื่องช่วยหายใจ 2. ปรับปรุงโภชนาการ 3. การใช้ยาอย่างเหมาะสม สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:07
แนวคิดการเปลี่ยนแปลง (Change Concept) ก. การสร้างมาตรฐานกระบวนการทำงาน (Standardize the Process) 1) สร้างกระบวนการทำงานที่เป็นทางการ (formal process) 2) ปรับระดับการดูแลให้สอดคล้องกับความต้องการ 3) จัดทำเกณฑ์ว่าผู้ป่วยรายใดที่เข้าข่ายที่จะนำมาตรฐาน หรือแนวทางที่กำหนดไว้ไปใช้ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:08
แนวคิดการเปลี่ยนแปลง (Change Concept) ข. ปรับปรุงการไหลของงาน (Improve the Work Flow) 4) ลดการส่งต่องานระหว่างผู้ปฏิบัติงาน หรือระหว่างหน่วยงาน 5) ใช้ระบบการดึง 6) ค้นหาและขจัดคอขวด 7) คาดการณ์ให้แม่นยำ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:09
แนวคิดการเปลี่ยนแปลง (Change Concept) ค. การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 8) ผู้ให้บริการทุกคนอยู่ในระบบเดียวกัน 9) การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร 10) สร้างความคาดหวังร่วมกัน 11) สร้างแนวร่วม สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:010
เรียนรู้ด้วยการทำงานร่วมกันเป็นทีม เรียนรู้ด้วยการทำงานร่วมกันเป็นทีม วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะในการทำหน้าที่ ต่างๆ ของสมาชิกทีม ระหว่างการประชุม. 2) เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในการนำขั้นตอน และเครื่องมือพัฒนาคุณภาพไปใช้ในชีวิตจริง. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:11
เรียนรู้ด้วยการทำงานร่วมกันเป็นทีมเรียนรู้ด้วยการทำงานร่วมกันเป็นทีม การจัดกลุ่มและผู้รับผิดชอบ • ให้จัดกลุ่มย่อย กลุ่มละ ๔-๕ คน • ให้กลุ่มเลือกผู้ช่วยเหลือทีม (facilitator) ผู้หนึ่งทำหน้าที่ดำเนินการประชุม • ถ้ากลุ่มมีจำนวนสมาชิก ๕ คน ให้เลือกผู้สังเกตการณ์คนหนึ่งทำหน้าที่สังเกต รักษาเวลา และ feed back • ผู้ช่วยเหลือทีม (facilitator) เป็นผู้ตั้งประเด็นให้กลุ่มพิจารณา อำนวยความสะดวกและกระตุ้น • ผู้สังเกตการณ์ไม่ต้องเข้าร่วมในการอภิปราย • ให้กลุ่มนั่งเป็นครึ่งวงกลมรอบ flip chart โดยให้ observer นั่งอยู่ห่างออกไปและสามารถสังเกตทุกคนได้ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:2
ประเมินผลการประชุม ด้านบวก / พอใจ ด้านลบ / ไม่พอใจ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:13
มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง GEN.9.2 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพประกอบด้วย • GEN.9.2.1 การวิเคราะห์ความต้องการและความคาดหวังของ ผู้ป่วยและลูกค้า (customer) หรือ บุคคล/หน่วยงานที่ใช้บริการ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • GEN.9.2.2 การติดตามศึกษาข้อมูลและสถิติซึ่งเป็นเครื่องชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ • GEN.9.2.3 การเลือกกิจกรรมหรือกระบวนการดูแลรักษาและบริการที่สำคัญ มาประเมินและปรับปรุง • GEN.9.2.4 การดำเนินการแก้ปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เน้นการวิเคราะห์และปรับปรุงกระบวนการดูแลรักษาและให้บริการ ค้นหาสาเหตุต้นตอ (root causes) ที่แท้จริง ตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อมูลและข้อเท็จจริง ใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแสวงหาทางเลือกใหม่ๆ • GEN.9.2.5 การประเมินผลการแก้ปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพ และเผยแพร่ผลการประเมินให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดทราบ • GEN.9.2.6 การติดตามเพื่อให้เกิดการรักษาระดับคุณภาพและการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในระยะยาว สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล CQI:14