300 likes | 502 Views
การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ บทเรียนจากการควบคุมการบริโภคยาสูบ. บังอร ฤทธิภักดี ศ.น.พ.ประกิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 29 มีนาคม 2550. นโยบายและมาตรการในการควบคุมการบริโภคยาสูบ (2529-2549). 2530 ห้ามโฆษณาบุหรี่ทุกรูปแบบ (อิงตาม พรบ. คุ้มครองผู้บริโภค)
E N D
การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะบทเรียนจากการควบคุมการบริโภคยาสูบการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะบทเรียนจากการควบคุมการบริโภคยาสูบ บังอร ฤทธิภักดี ศ.น.พ.ประกิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่29 มีนาคม 2550
นโยบายและมาตรการในการควบคุมการบริโภคยาสูบ (2529-2549) • 2530 ห้ามโฆษณาบุหรี่ทุกรูปแบบ (อิงตาม พรบ. คุ้มครองผู้บริโภค) • 2532 เปิดตลาดบุหรี่นอก • 2532 ตั้งคณะกรรมการควบคุมการบริโภคยาสูบแห่งชาติ • 2535 พรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ • 2535 พรบ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ • 2536-2548 การพิมพ์คำเตือนที่ใหญ่ขึ้น
นโยบายและมาตรการในการควบคุมการบริโภคยาสูบ (2529-2549) • 2536-2549 สถานที่สาธารณะต่างๆ เป็นเขตปลอดบุหรี่ • 2536-2549 ขึ้นภาษีบุหรี่ • 2544 2% จากภาษีบุหรี่และเหล้าสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ • 2548 พิมพ์คำเตือนเป็นรูปภาพ • 2548 ห้ามโชว์ซองบุหรี่ ณ จุดขาย
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนนโยบายปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนนโยบาย การเมือง กระแสสังคม • องค์ความรู้ • แนวร่วม ทีมและ ยุทธศาสตร์
กรณีศึกษา (1) เรื่องการขึ้นภาษีบุหรี่ • ฝ่ายสาธารณสุขเสนอให้รัฐบาลขึ้นภาษีบุหรี่ตั้งแต่ปี 2529.....แต่ไม่มีเสียงขานรับ • 2536 ตั้งขบวน
ทีม • ฝ่ายรัฐ • ศ.น.พ.ประกิต วาทีสาธกกิจ • พ.ญ.วราภรณ์ ภูมิสวัสดิ์ • ฝ่ายวิชาการ • นพ.สุภกร บัวสาย • ผู้เชี่ยวชาญองค์การอนามัยโลก • ฝ่ายองค์กรเอกชน • ศ.น.พ.ประกิต วาทีสาธกกิจ • บังอร ฤทธิภักดี
โจทย์คืออะไร • เราต้องการอะไร..ขึ้นภาษี...ขึ้นเท่าไหร่ • ใครจะทำเป้าหมายให้เป็นจริง.....คณะรัฐมนตรี • ใคร(มีแนวโน้ม)เห็นด้วย...ใคร (มีแนวโน้ม) คัดค้าน • รัฐไม่ให้ความสำคัญกับนโยบายภาษีบุหรี่เพราะอะไร • อะไรคือข้อกังขา/ข้อโต้แย้ง • ข้อมูลอะไรที่จำเป็นต่อการผลักนโยบายนี้ • ใครคือแนวร่วม...
1. สกัดข้อมูลและองค์ความรู้ • รวบรวมและศึกษาข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทเรียนจากต่างประเทศ และข้อเสนอแนะจากองค์การอนามัยโลก และธนาคารโลก • ขอความช่วยเหลือด้านวิชาการจากองค์การอนามัยโลก • วิเคราะห์ข้อโต้แย้ง (Arguments) ของฝ่ายการเมืองและหาคำตอบ • จัดทำ Policy Paper ขึ้นเท่าไหร่..เพื่อเสนอ ครม.
ขึ้นภาษีบุหรี่ 10 % จะมีผลดีอย่างไร • การสูบบุหรี่ในเยาวชนจะลดลง 10%, • สามารถป้องกันเด็กอายุ 15-19 จากการเริ่มสูบบุหรี่ได้ 75 400 คน • ป้องกันไม่ให้ 9,425 คนตายจากการสูบบุหรี่
ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นหากขึ้นภาษีบุหรี่ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นหากขึ้นภาษีบุหรี่ Year 1992 1993--1934 ภาษี(%) 55 61 63 ยอดขาย(ล้านซอง) 1983 2,094 2,094 รายรับจากภาษี(ล้านบาท) 15,346 19,000 21,400 (หากไม่ขึ้นภาษี) (17,000) (17,000) จำนวนเด็กสูบบุหรี่ที่ลดลง 200,000 300,000
คำนวณราคาจริงของบุหรี่ (Real Price) เทียบตามค่าแรงขั้นต่ำที่เพิ่มขึ้น 2525 2528 2535 ค่าแรงขั้นต่ำ(บาท/วัน) 46 54 128 ราคาขายปลีก (บาท/ซอง) 12 13 15 ราคาจริง ที่ควรจะเป็น (บาท/ซอง) 12 14 33
เตรียมข้อมูลตอบทุกข้อโต้แย้งเตรียมข้อมูลตอบทุกข้อโต้แย้ง • ขึ้นภาษีบุหรี่แล้วทำให้บุหรี่เถื่อนเพิ่มขึ้น • ขึ้นภาษีบุหรี่แล้วจะทำให้รัฐเสียรายได้ • ขึ้นภาษีแล้วจะทำให้ชาวไร่ยาสูบและคนงานโรงงานยาสูบตกงาน • ขึ้นภาษีเป็นการทำร้ายคนจน
ข้อกังวลสำคัญของนักการเมืองข้อกังวลสำคัญของนักการเมือง • กำหนดนโยบายนี้แล้วทำให้คะแนนเสียงลดลง
2. การระดมกระแสสังคม การสำรวจความคิดเห็นของประชาชน • 80% ของผู้ไม่สูบบุหรี่ • 65% ของผู้สูบบุหรี่ • โดยภาพรวม 70% สนับสนุนการขึ้นภาษีบุหรี่
3. ระดมแนวร่วม • ใครคือแนวร่วม • คอลัมนิสต์ที่เสียงดัง • ผู้เชียวชาญจากต่างประเทศ • (นักเศรษฐศาสตร์) • ให้ข้อมูลแก่แนวร่วม และขอแรงสนับสนุน
4. การสื่อสาร(Advocate)กับฝ่ายการเมือง • ใครคือผู้สื่อสารกับ ครม...รมว.สาธารณสุข • ให้ข้อมูลแก่ รมว.ให้ชัดเจน • อาศัยตัวช่วยต่างๆ ในการสื่อสารกับฝ่ายการเมือง • ความสัมพันธ์ส่วนตัว • ให้ผู้เชียวชาญจากต่างๆประเทศช่วยพูด • เตรียมผู้ให้ข้อมูลให้พร้อมในการที่ ครม.
สาระสำคัญในการสื่อสารกับภาคการเมืองสาระสำคัญในการสื่อสารกับภาคการเมือง • นโยบายนี้ประชาชนส่วนใหญ่สนับสนุน • รัฐบาลมีแต่ได้กับได้ • ยอดขายคงที่หรือชะลอตัว...ดีต่อสุขภาพของประชาชน • รายได้รัฐเพิ่มขึ้น...ดีต่อการคลัง • หากรัฐบาลไม่ขึ้น คนสูบบุหรี่ไม่ลด แต่รายได้รัฐไม่เพิ่ม • ปัญหาบุหรี่เถื่อนจัดการได้ด้วยวิธีอื่น แต่ไม่ใช่การเก็บภาษีต่ำ
มติ ครม. 2536 • เพิ่มภาษีสรรพสามิตบุหรี่จาก 55% เป็น 60% • ให้มีการขึ้นภาษีเป็นระยะๆ ตามอัตราเงินเฟ้อ ราคาบุหรี่เพิ่มจากซองละ 15 บาท เป็น 18 บาท
ผลจากการขึ้นภาษีต่อยอดขายและรายรับผลจากการขึ้นภาษีต่อยอดขายและรายรับ พ.ศ. 2536 2537 ภาษี (%) 55 60 ยอดขาย (ล้านซอง) 2,135 2,328 รายรับ (ล้านบาท) 15,345 20,002 (19,000)
Excise tax, cigarette sales and tax revenue Year Tax Sales Tax revenue (%) (million Pack) (million ofBaht) • 1992 55 2035 15,438 • 1993 55 2135 15,345 • 1994 60 2328 20,002 • 1995 62 2171 20,736 • 1996 68 2463 24,092 • 1997 68 2415 29,755 • 1999 70 1810 26,708 • 2000 71.5 1826 28,110 • 2001 75 1727 29,627 • 2002 75 1716 31,247 • 2003 75 1904 33,582 • 2004 75 2110 36,326 • 2005 75 2187 39,690 • 2006 79 1793 35,646 Source: the Excise Department, Ministry of Finance .Thailand
กรณีศึกษา (2) พรบ.ยาสูบ พ.ศ.2535 โจทย์: ผลัก ร่าง พรบ.ยาสูบ ทั้งสองฉบับ ให้ผ่านสภา หากพิจารณาไม่เสร็จในสภา รสช.กฎหมายจะตกไป และอาจจะทำให้ทำงานยากขึ้นในสภาหน้า
สถานการณ์ • สภารับหลักการร่างกฎหมายยาสูบ วาระที่ 1 ตั้งกรรมาธิการสาธารณสุขพิจารณา วาระที่ 2 • พลเอกสุนทร และคนอื่นๆ ขอแปรญัตติตัดมาตรา 11 ออก • ร่าง พรบ.ยาสูบ ถูกเลื่อนหลายครั้งระหว่างการเข้าคิวรอเข้าสู่ที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ วาระที่ 3
ยุทธศาสตร์ของธุรกิจยาสูบยุทธศาสตร์ของธุรกิจยาสูบ 1.วิ่งเต้นแก้หรือตัดเนื้อหามาตรา 11 ของ พรบ.ยาสูบที่ครม. 2.วิ่งเต้นให้มีการแปรญัตติให้กฎหมายเข้มข้นน้อยลง (ผ่านสมาชิกสภาฯ) 3.ถ่วงเวลาให้กระบวนการพิจารณากฎหมายล่าช้า ไม่ให้ผ่านสภานิติบัญญัติ เพื่อให้กฎหมายตกไป • จุดแข็งของบริษัทบุหรี่คือการวิ่งเต้นในที่ลับ
แนวร่วมของธุรกิจยาสูบต่างประเทศแนวร่วมของธุรกิจยาสูบต่างประเทศ 1.รัฐมนตรีที่เห็นใจ บ.บุหรี่ 2.สมาชิกสภานิติบัญญัติที่เห็นใจ บ.บุหรี่ 3.คอลัมนิสต์บางคน
Political mapping • ฝ่ายที่สนับสนุน • ฝ่ายที่คัดค้าน • วางยุทธศาสตร์ในการล็อบบี้ฝ่ายสนับสนุน • วางยุทธศาสตร์ในการเปิดโปงฝ่ายคัดค้าน
เป้าหมายในการล็อบบี้ พรบ.ยาสูบ • คณะกรรมการกฤษฎีกา • ครม.รัฐบาลอานัน • ประธานสภานิติบัญญัติ • กรรมาธิการสาธารณสุข สภานิติฯ • คอลัมนิสต์ • รองประธาน รสช.
พลิกวิกฤติให้เป็นโอกาสพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส • วิกฤติ: สมาชิกสภานิติบัญญัติแอบพาผู้จัดการฟิลลิป มอริสเข้าห้องกรรมาธิการขณะพิจารณาร่าง พรบ. • ประธานเชิญให้ออกจากห้องประชุม เป็นข่าวใหญ่หน้า 1 ในวันถัดมา • กลุ่มรณรงค์ย้ำกฎหมายอาจถูกบริษัทบุหรี่คว่ำ กระตุ้นรัฐสภาอย่ายอม • กลุ่มรณรงค์พาเด็กเยาวชนมอบดอกไม้ให้ประธานสภาฯ วันที่กฎหมายยาสูบเข้าสภาฯ
ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการผลักดันกฎหมายบุหรี่ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการผลักดันกฎหมายบุหรี่ • สังคมมีภูมิจากความตื่นตัวถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่ • ปี 2530 การวิ่งรณรงค์ • 2531-2533 การคัดค้านรัฐบาลสหรัฐ • 2530-2535 การรณรงค์อย่างต่อเนื่องของทั้งภาครัฐและเอกชน • มีทีมงานที่ทำการบ้านเรื่องนี้โดยเฉพาะ • การสามารถเข้าถึงผู้มีอำนาจตัดสินใจในรัฐบาล /สภานิติบัญญัติฯ • สื่อมวลชนร่วมมือกันสนับสนุนกฎหมายบุหรี่ • การสามารถเปิดโปงนักการเมือง สมาชิกสภาฯที่สนับสนุนบริษัทบุหรี่ • การดึงความขัดแย้งสู่ที่สาธารณะ
ผลของนโยบายควบคุมยาสูบจนปัจจุบันผลของนโยบายควบคุมยาสูบจนปัจจุบัน 1.จำนวนคนสูบบุหรี่น้อยกว่าที่ควรจะเป็น 4 ล้านคน มีคนที่เลิกสูบบุหรี่ 2 ล้านกว่าคน เด็กที่รอดพ้นจากการเสพติดบุหรี่ 1 ล้านกว่าคน 2.รัฐบาลเก็บภาษีสรรพสามิตบุหรี่เพิ่มขึ้นได้นับแสนล้านบาท 3.ผู้ไม่สูบบุหรี่ได้รับการคุ้มครองไม่ต้องรับควันบุหรี่มือสอง 4.เปลี่ยนค่านิยมของการสูบบุหรี่ในสังคมไทย
ภาพคำเตือน การห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ การรณรงค์ การขึ้นภาษี การห้ามโฆษณา ผลกระทบของนโยบายควบคุมยาสูบ (พ.ศ.2534-2549)ผู้สูบบุหรี่ลดลงกว่าที่ควรจะเป็น 4 ล้านคน เป็นผลจาก Ref: David Levy et al, The Role of Tobacco Control Policies in Reducing Smoking and Deaths Caused by Smoking in Thailand: Results from the Thailand SimSmoke Simulation Model,SEATCA and TRC, 2006