150 likes | 564 Views
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ. โดย อ.รัตนสุดา ไชยเชษฐ์. หลักการในการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ. การวิเคราะห์เชิงปริมาตร การวิเคราะห์โดยอาศัยหลักการดูดกลืนแสง การวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า. การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ. ใช้หลักการวิเคราะห์เชิงปริมาตร
E N D
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ โดย อ.รัตนสุดา ไชยเชษฐ์
หลักการในการวิเคราะห์คุณภาพน้ำหลักการในการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ • การวิเคราะห์เชิงปริมาตร • การวิเคราะห์โดยอาศัยหลักการดูดกลืนแสง • การวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า
การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำการวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ • ใช้หลักการวิเคราะห์เชิงปริมาตร • ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ที่มีชื่อเรียกว่า Winkler method • หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ในหน่วย มิลลิกรัม/ลิตร (ppm)
หลักการ • น้ำที่เก็บมาจากแหล่งน้ำ ปริมาณออกซิเจนมีความแปรปรวนตามระยะเวลา เพราะออกซิเจนจะถูกสิ่งมีชีวิตในน้ำนำไปใช้ • การตรึงออกซิเจน (สีน้ำตาล) Mn2+ + 2OH- + O2MnO2 + H2O (สีขาว) Mn2+ + 2OH-Mn(OH)2
MnO2 + 2I- + 4H+ Mn2+ + I2+ 2H2O I2 + starch-I2 + 2Na2S2O3.H2O Na2S + O6 + 2NaI + 10H2O + แป้ง
วิธีการวิเคราะห์ • เก็บตัวอย่างน้ำด้วยขวด BOD แล้วเติมสารละลายแมงกานัสซัลเฟต 2 มล. และสารละลายอัลคาไล-ไอโอไดด์-เอไซด์ 1 มล. ปิดฝาขวด BOD แล้วพลิกกลับไปมาประมาณ 20 ครั้ง • เติมกรดซัลฟิวริก 2 มล. ลงในตัวอย่างน้ำ พลิกขวดกลับไปมาเพื่อละลายตะกอน • ตวงตัวอย่างน้ำจากข้อ 2 ปริมาตร 101 มล. ใส่ในขวดรูปชมพู่ แล้วนำมาไทเทรตกับสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต
เมื่อตัวอย่างน้ำมีสีจางลง เติมน้ำแป้งสุก 4 – 5 หยด แล้วไทเทรตต่อจนกระทั่งสารละลายเปลี่ยนสีจากสีน้ำเงินเป็นไม่มีสี • บันทึกปริมาตรของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟตที่ใช้ไทเทรต และคำนวณหาปริมาณออกซิเจน
การคำนวณ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ (DO) (mg/l) = (V1) (N) (8) (1,000) V2 V1 หมายถึง ปริมาตรของโซเดียมไทโอซัลเฟตที่ใช้ไทเทรต (มล.) V2 หมายถึง ปริมาตรตัวอย่างน้ำ ( 100 มล.) N หมายถึง ความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต
การเทียบสารละลายมาตรฐานการเทียบสารละลายมาตรฐาน • นำสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ 100 มล.ใส่ในขวดรูปชมพู่ ขนาด 250 มล. เติมกรดซัลฟิวริก 10% ปริมาณ 10 มล. และเติมสารละลายโพแทสเซียมไดโครเมต 0.025 Nปริมาตร 10 มล. แล้วนำมาไทเทรตกับโซเดียมไทโอซัลเฟต จนกระทั่งสีของสารละลายอ่อนลง จึงเติมน้ำแป้งสุก 4 – 5 หยด แล้วไทเทรตจนกระทั่งสีน้ำเงินหายไป บันทึกปริมาตรโซเดียมไทโอซัลเฟต และคำนวณหาความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต
ผลการเทียบสารละลายมาตรฐานผลการเทียบสารละลายมาตรฐาน • N2 หมายถึง ความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานโพแทสเซียมไดโครเมต (0.025 N) • V2 หมายถึง ปริมาตรของสารละลายมาตรฐานโพแทสเซียมไดโครเมต ( 10 ml) • V1 หมายถึง ปริมาตรของโซเดียมไทโอซัลเฟตที่ใช้ไทเทรต (ml) = ……………………. • N1 หมายถึง ความเข้มข้นของโซเดียมไทโอซัลเฟต (N) = …………………………….