520 likes | 908 Views
เป้าหมาย สุขภาพ ดี ลดป่วย ลดตาย ลดแทรกซ้อน ลดพิการ. ภาวะสุขภาพของกลุ่มวัยทำงาน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ. Service Plan หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง เบาหวาน,ความดัน โรคปอดเรื้อรัง ตา ไต อุบัติเหตุ จิตเวช ทันตก รรม ปฐมภูมิ + ทุติยภูมิ + ตติยภูมิ + องค์รวม. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. Service Plan
E N D
เป้าหมาย • สุขภาพดี • ลดป่วย • ลดตาย • ลดแทรกซ้อน • ลดพิการ ภาวะสุขภาพของกลุ่มวัยทำงาน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ Service Plan หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง เบาหวาน,ความดัน โรคปอดเรื้อรัง ตา ไต อุบัติเหตุ จิตเวช ทันตกรรม ปฐมภูมิ+ทุติยภูมิ+ตติยภูมิ+องค์รวม
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง Service Plan สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง Service Plan สาขาหัวใจและหลอดเลือด Service Plan สาขา ตา ไต Service Plan สาขามะเร็ง Service Plan สาขาจิตเวช Service Plan สาขาอุบัติเหตุ
เบาหวาน ลดตาย2.1%
การคัดกรองโรคเบาหวานประชากรอายุ15 ปีขึ้นไป
การตรวจสุขภาพช่องปากในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานการตรวจสุขภาพช่องปากในกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ปี2556 ร้อยละ70
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะอ้วนลงพุง < 21%
ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงสูงในปีที่ผ่านมา
ควบคุมระดับน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวาน( HbA1C น้อยกว่า 7)
การคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงประชากรอายุ60ปีขึ้นไปการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงประชากรอายุ60ปีขึ้นไป
การควบคุมระดับความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงการควบคุมระดับความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
สัดส่วนผู้ป่วยนอกเบาหวานที่รับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต. สัดส่วนของจำนวนผู้ป่วยนอก DM / HT ที่ไปรับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต.
สัดส่วนของจำนวนผู้ป่วยนอก DM / HT ที่ไปรับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต. สัดส่วนผู้ป่วยนอกความดันโลหิตสูงที่รับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต.
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
อัตราการรักษาตัวในโรงพยาบาลไม่เกิน๑๓๐/แสน ปชก. ผู้ป่วยCOPDรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 4
โรคหลอดเลือดหัวใจ ลดป่วย ลดตาย<23:แสนปชก.
อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วย STEMI ปีงบประมาณ 2552-2556
จำนวนผู้ป่วย STEMI แยกตาม รพ. ที่ Refer Case ประจำปีงบประมาณ 2553-2556
ผู้สูงอายุมีฟันใช้งานได้อย่างเหมาะสม 4 คู่สบขึ้นไป จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2556 ร้อยละ52
ปชก.อายุ50ปีขึ้นไปได้รับการใส่ฟันเทียมปชก.อายุ50ปีขึ้นไปได้รับการใส่ฟันเทียม ร้อยละ100
การตรวจจอประสาทตาในกลุ่มป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2556
ระยะเวลารอคอยผ่าตัดต้อกระจกระยะเวลารอคอยผ่าตัดต้อกระจก
โรคไตเรื้อรัง ป่วยลดลง ลดอัตราตาย2.1%
การประเมินค่า e GFR (การทำงานของไต)ในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2556 ตรวจ Creatinin71%
การประเมินค่า e GFR (การทำงานของไต)ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2556 ตรวจ Creatinine47%
อัตราป่วยโรคมะเร็งที่สำคัญจังหวัดกำแพงเพชรอัตราป่วยโรคมะเร็งที่สำคัญจังหวัดกำแพงเพชร
อัตราตายโรคมะเร็งที่สำคัญจังหวัดกำแพงเพชรอัตราตายโรคมะเร็งที่สำคัญจังหวัดกำแพงเพชร ตายลดลง 2.1% ตับลดลง<24:แสนปชก.
อัตราผู้ติดเชื้อเอดส์ต่อแสนประชากรอัตราผู้ติดเชื้อเอดส์ต่อแสนประชากร อายุ 21-44ปี
อัตราตายจากโรคเอดส์ สาเหตุ การเข้าถึงบริการดูแลรักษาล่าช้า 1. ไม่ทราบสถานะการติดเชื้อ ฯ 2. ทราบแล้วแต่ไม่ยอมเข้าสู่บริการ ดูแลรักษา
อัตราป่วยกามโรคแยกรายอำเภออัตราป่วยกามโรคแยกรายอำเภอ ลดลง 5%
อัตราการบาดเจ็บและอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2550– 2556 อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 20 ต่อแสนประชากร
จำนวนการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนปี 2556 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง • จำนวนการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนปี 2556 • เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
อัตราการเสียชีวิตก่อนถึงโรงพยาบาลและเสียชีวิตในโรงพยาบาลจากอุบัติเหตุทางถนน จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2556 Respone time (10นาที) 75%
อัตราป่วยวัณโรคทุกประเภท และวัณโรคเสมหะบวกรายใหม่ต่อประชากรแสนคนที่ขึ้นทะเบียนปีงบประมาณ 2550-2556 จังหวัดกำแพงเพชร
ผู้ป่วยวัณโรคเสมหะบวกรายใหม่จำแนกตามกลุ่มอายุ ปีงบประมาณ 2552 - 2556 35 ปีขึ้นไป
อัตราป่วยวัณโรคทุกประเภทต่อประชากรแสนคน ขึ้นทะเบียนปีงบประมาณ 2552 – 2556 รายอำเภอ จังหวัดกำแพงเพชร
ผลสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคเสมหะบวกรายใหม่ที่ขึ้นทะเบียนรักษา ปี 2555
ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ >31%
โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
อัตราป่วยด้วยโรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืชต่อแสนประชากร ตั้งแต่ปี 2553-2556
อัตราป่วยด้วยโรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช ต่อแสนประชากร ตั้งแต่ปี 2553-2556แยกรายอำเภอ
ผู้ป่วยโรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืชผู้ป่วยโรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช แยกตามกลุ่มอายุ ตั้งแต่ปี 2554-2556 อายุ45-54 ปี
เกษตรกรที่มีผลการตรวจเลือดพบว่าเสี่ยงและไม่ปลอดภัย ปี 2555 แยกรายอำเภอ
เกษตรกรที่มีผลการตรวจเลือดพบว่าเสี่ยงและไม่ปลอดภัย ปี 2556 แยกรายอำเภอ <ร้อยละ33
โรคเรื้อรัง 85,641 ผู้สูงอายุ 104,734 รวม 190,384 Long Term Care อายุยืน 80 ปี สุขภาพดี 72 ปี ติดบ้าน 1,013 ติดเตียง 4,004 ติดสังคม 56,988 อบรมผู้ดูแล/คุณภาพ