950 likes | 1.29k Views
ระบบการควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการ. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 (ข้อ 6) - ซักซ้อมความเข้าใจ ประเด็นข้อผิดพลาดจากผลการสอบ ทานการประเมินระบบการควบคุมภายในของหน่วยบริการ.
E N D
ระบบการควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการ
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 (ข้อ 6) - ซักซ้อมความเข้าใจ ประเด็นข้อผิดพลาดจากผลการสอบ ทานการประเมินระบบการควบคุมภายในของหน่วยบริการ
เกณฑ์ประเมินการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ (Financial Administration Index : FAI)
การรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 1. จัดทำการประเมิน 5 องค์ประกอบ (ส่วนงานย่อย) ลงในแบบ ปย.1 2. ประเมินกระบวนการปฏิบัติงาน ในแบบ ปย.2 3. ประมวล ปย.1 จากข้อ 1 และประเมินเพิ่มเติม สรุปลง แบบ ปอ.2 4. สรุปผล จากข้อ 2 ลงในแบบ ปอ.3 5. จัดทำหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน ปอ.1 6. จัดทำรายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายใน (ปส.) 7. ติดตามประเมินผลรอบ 6, 9, 12 เดือน
ผู้ตรวจสอบภายในสอบทานและประเมินการควบคุมภายในภาพรวมหน่วยรับตรวจผู้ตรวจสอบภายในสอบทานและประเมินการควบคุมภายในภาพรวมหน่วยรับตรวจ การควบคุมกลยุทธ์ กรม ผู้บริหารระดับสูง กำหนดนโยบายการจัดวาง ประเมิน และส่งเสริมให้เกิดการควบคุมภายใน ควบคุมการบริหารโครงการ สสจ./รพศ./รพท./รพช. ผู้บริหารระดับกลาง จัดให้มีการวาง สอบทาน ประเมิน และปรับปรุงการควบคุมภายใน ควบคุมการปฏิบัติงาน กลุ่มงาน / ฝ่าย ผู้บริหารระดับต้น จัดวาง สอบทาน ประเมิน และปรับปรุงการควบคุมภายใน การปฏิบัติงาน ทุกหน่วยงาน/ระดับตามโครงสร้าง ผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติและแจ้งจุดอ่อน การควบคุมภายใน การควบคุมภายใน : ผู้รับผิดชอบ
การรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6
การประเมินผลการควบคุมภายในการประเมินผลการควบคุมภายใน ประเมิน 5 องค์ประกอบ ปย.1 (ส่วนงานย่อย) ประเมินกระบวนการปฏิบัติงาน ปย.2 (ส่วนงานย่อย) แบบ ปส. (ผู้ตรวจสอบภายใน) ประเมิน 5 องค์ประกอบ ปอ.2 (หน่วยรับตรวจ) ประเมินกระบวนการปฏิบัติงาน ปอ.3 (หน่วยรับตรวจ) หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน ปอ.1
วัตถุประสงค์ การควบคุม • ประสิทธิภาพ • ประสิทธิผล • การดำเนินงาน • ความเชื่อถือได้ • ของรายงาน • ทางการเงิน • การปฏิบัติตาม • ข้อกำหนด การควบคุมภายใน : องค์ประกอบ องค์ประกอบ ของการควบคุม ข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร การประเมิน ความเสี่ยง การติดตาม ประเมินผล กิจกรรม การควบคุม สภาพแวดล้อมของการควบคุม
ชื่อส่วนงานย่อย รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ณ วันที่..........เดือน.....................พ.ศ............ แบบ ปย. 1 ผลการประเมินโดยรวม.................................................................................................................................................................. ชื่อผู้รายงาน............................................................ (ชื่อหัวหน้าส่วนงานย่อย) ตำแหน่ง................................................................. วันที่....................เดือน.........................พ.ศ. .........
การบริหารความเสี่ยง • โครงสร้าง • ระบบงาน • คน • ทรัพย์สิน • งบประมาณ * ยอมรับ * ป้องกัน/ควบคุม * ถ่ายโอน/กระจาย * หลีกเลี่ยง วิเคราะห์/จัดลำดับ ระบุ * โอกาส * ผลกระทบ ศึกษา ทำความเข้าใจ * ความเสี่ยงอะไร * ส่งผลกระทบ อย่างไร วัตถุประสงค์ เป้าหมาย การประเมินความเสี่ยง ทราบความเสี่ยงและหาทางลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
ชื่อส่วนงานย่อย รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่..........เดือน.....................พ.ศ............ แบบ ปย.2
ชื่อหน่วยรับตรวจ รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่..........เดือน.....................พ.ศ............ แบบปอ.3 รายการปรับปรุงที่สำคัญที่ส่วนงานย่อยไม่สามารถดำเนินการแก้ไขได้ ถ้าส่วนงานย่อยแก้ไขเองได้ไม่ต้องนำมาลงในช่องนี้
ขั้นตอนที่ 2 จัดทำความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายใน หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (ปอ.1) เรียน (คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน / ผู้กำกับดูแล / คณะกรรมการตรวจสอบหรือคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ) ___(ชื่อหน่วยรับตรวจ)..... ได้ประเมินผลการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่...... เดือน.................... พ.ศ. …... ด้วยวิธีการที่(ชื่อหน่วยรับตรวจ)กำหนด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงานและการใช้ทรัพยากร ซึ่งรวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สินการป้องกันหรือลดความผิดพลาดความเสียหายการรั่วไหลการสิ้นเปลืองหรือการทุจริตด้านความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินและการดำเนินงานและด้านการปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบข้อบังคับมติคณะรัฐมนตรีและนโยบายซึ่งรวมถึงระเบียบปฏิบัติของฝ่ายบริหาร จากผลการประเมินดังกล่าวเห็นว่าการควบคุมภายในของ(ชื่อหน่วยรับตรวจ)สำหรับปีสิ้นสุดวันที่......เดือน..................... พ.ศ. ....... เป็นไปตามระบบการควบคุมภายในที่กำหนดไว้มีความเพียงพอและบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในตามที่กล่าวในวรรคแรก (อนึ่ง การควบคุมภายในยังคงมีจุดอ่อนที่มีนัยสำคัญดังนี้ 1............................................................................................................................................................................. 2.......................................................................................................................................................................…) ลายมือชื่อ....................................................... (ชื่อหัวหน้าหน่วยรับตรวจ) ตำแหน่ง....................................................... วันที่........เดือน.......................พ.ศ.............. จุดอ่อนที่มีนัยสำคัญ มาจากการพิจารณาข้อมูลในแบบประเมินผลการควบคุมภายในทั้งหมด
ปอ.1 2 3 ปส. ปย.1 ปย.1 ปย.2 ปย.2 การประเมินผลการควบคุม : การรายงาน - คตง. ขั้นตอนการจัดทำรายงานของผู้ตรวจสอบภายใน
ระบบการควบคุมภายใน บรรยายโดย นฬญา ดำรงคะวิริยะพันธ์ กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาการบรรยาย 2 ส่วน - ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการ กำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 - การจัดทำรายงานการควบคุมภายในตามระเบียบฯ ข้อ 6
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544
ความหมายของการควบคุมภายในความหมายของการควบคุมภายใน “กระบวนการที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากร ของหน่วยรับตรวจกำหนดให้มีขึ้น เพื่อให้เกิดความมั่นใจ อย่างสมเหตุผลว่าการดำเนินงานของหน่วยรับตรวจจะบรรลุ วัตถุประสงค์ ”
วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงาน ความเชื่อถือของรายงานทางการเงิน การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายในแนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 1. แทรกหรือแฝงอยู่ในการปฏิบัติงานตามปกติ 2. บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการทำให้มีระบบการ ควบคุมเกิดขึ้น 3. ให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลเท่านั้น
ผู้ตรวจสอบภายในสอบทานและประเมินการควบคุมภายในภาพรวมองค์กรผู้ตรวจสอบภายในสอบทานและประเมินการควบคุมภายในภาพรวมองค์กร การควบคุมกลยุทธ์ ผู้บริหารระดับสูง กำหนดนโยบายการจัดวาง ประเมิน และส่งเสริมให้เกิดการควบคุมภายใน ควบคุมการบริหารโครงการ ผู้บริหารระดับกลาง จัดให้มีการวาง สอบทาน ประเมิน และปรับปรุงการควบคุมภายใน ควบคุมการปฏิบัติงาน ผู้บริหารระดับต้น จัดวาง สอบทาน ประเมิน และปรับปรุงการควบคุมภายใน การปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติและแจ้งจุดอ่อน การควบคุมภายใน การควบคุมภายใน : ผู้รับผิดชอบ กรม สำนัก / กอง ส่วน / ฝ่าย ทุกหน่วยงาน/ระดับ
ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารต่อการควบคุมภายในความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารต่อการควบคุมภายใน ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับ
หน้าที่ของผู้บริหารระดับสูงหน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง 1. รับผิดชอบโดยตรงในการจัดให้มีการควบคุมภายในที่มี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในระดับที่น่าพอใจอยู่เสมอ 2. ประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยงาน 3. กำหนดให้หน่วยตรวจสอบภายในเป็นส่วนหนึ่งของการ ควบคุมภายใน
หน้าที่ของผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับหน้าที่ของผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับ 1. จัดให้มีการควบคุมภายในของส่วนงานที่ตนรับผิดชอบ 2. สอบทานการปฏิบัติงานที่ใช้บังคับในหน่วยงานที่ตน รับผิดชอบ 3. ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการควบคุมภายในให้รัดกุม
ปัจจัยแห่งความสำเร็จของระบบการควบคุมภายในปัจจัยแห่งความสำเร็จของระบบการควบคุมภายใน ปัจจัยผลักดัน 1. วัตถุประสงค์ (Purpose)ชัดเจน 2. ข้อตกลงร่วมกัน (Commitment) 3. ความสามารถ (Capability)ในการบริหารงาน 4. การปฏิบัติการ (Action) 5. การเรียนรู้ (Learning)
ปัจจัยแห่งความสำเร็จของระบบการควบคุมภายในปัจจัยแห่งความสำเร็จของระบบการควบคุมภายใน ปัจจัยเกื้อหนุน 1. ผู้บริหารให้ความสำคัญ 2. การบริหารความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงอย่าง สม่ำเสมอ 3. การจัดการทรัพยากรบุคคลเป็นระบบ/เหมาะสม 4. มีความรับผิดชอบและจิตสำนึกของบุคลากรทุกระดับ
ข้อจำกัดของระบบการควบคุมภายในข้อจำกัดของระบบการควบคุมภายใน การตัดสินใจของผู้บริหาร การสื่อสาร ข้อจำกัดของ ระบบการควบคุมภายใน บุคลากร ต้นทุนสูง การทุจริต เหตุการณ์ที่ไม่สามารถควบคุมได้
การใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจผิดพลาดการใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจผิดพลาด ผู้บริหารใช้อำนาจหรืออภิสิทธิ์สั่งการเป็นอย่างอื่น ผู้ปฏิบัติงานไม่ปฏิบัติตามมาตรการที่องค์กรกำหนด การสมรู้ร่วมคิดกันโดยทุจริตกระทำการฉ้อโกง ขาดความเข้าใจในกลไกของการควบคุมที่กำหนดขึ้น ความคุ้มค่ากับต้นทุนที่เกิดขึ้น เหตุผลที่ทำให้การควบคุมภายในล้มเหลว
ความสำคัญของระเบียบ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ตัวระเบียบ 9 ข้อ มาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ
ตัวระเบียบมีทั้งหมด 9 ข้อ ข้อ 1 ชื่อระเบียบ ข้อ 2 วันบังคับใช้ ข้อ 3 ความหมายต่าง ๆ ข้อ 4 ผู้รับผิดชอบในการนำมาตรฐานไปใช้ ข้อ 5 จัดวางให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี และรายงานความ คืบหน้าทุก 60 วัน
ตัวระเบียบมีทั้งหมด 9 ข้อ ข้อ 6 รายงานเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่จัดวางไว้ใน ข้อ 5 ภายใน 90 วัน นับจากวันสิ้นปีงบประมาณ
รายละเอียดที่ต้องรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 การควบคุมภายในเป็นไปตามมาตรฐานการควบคุม หรือไม่ ผลการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบ การควบคุมภายในและผลการประเมินองค์ประกอบของการ ควบคุมภายใน จุดอ่อน ข้อเสนอแนะ และแผนการปรับปรุงแก้ไข
ตัวระเบียบมีทั้งหมด 9 ข้อ ข้อ 7 ไม่สามารถปฏิบัติได้ ทำข้อตกลง ข้อ 8 บทลงโทษ แจ้งกระทรวงเจ้าสังกัด หรือผู้บังคับบัญชา รายงานต่อประธานรัฐสภา - คณะกรรมาธิการของรัฐสภา
ตัวระเบียบมีทั้งหมด 9 ข้อ - คณะกรรมาธิการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปี อาจต้องรับโทษปรับทางปกครอง ตามระเบียบว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ.2544 ข้อ 9 ประธานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีอำนาจ ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบังคับ ใช้ระเบียบนี้
มาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ
วัตถุประสงค์ การควบคุม • ประสิทธิภาพ • ประสิทธิผล • การดำเนินงาน • ความเชื่อถือได้ • ของรายงาน • ทางการเงิน • การปฏิบัติตาม • ข้อกำหนด การควบคุมภายใน : องค์ประกอบ องค์ประกอบ ของการควบคุม ข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร การประเมิน ความเสี่ยง การติดตาม ประเมินผล กิจกรรม การควบคุม สภาพแวดล้อมของการควบคุม
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม สภาพแวดล้อมของการควบคุมหมายถึงปัจจัยต่างๆ ซึ่งร่วมกันส่งผลให้มีการควบคุมขึ้นในหน่วยรับตรวจหรือทำ ให้การควบคุมที่มีอยู่ได้ผลดีขึ้น ในทางตรงกันข้ามก็อาจ ทำให้การควบคุมย่อหย่อนลงได้
สภาพแวดล้อมของการควบคุมสภาพแวดล้อมของการควบคุม มาตรฐาน: ผู้กำกับดูแลฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยรับตรวจ ต้องสร้างบรรยากาศของการควบคุม เพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการควบคุมภายใน โดยส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนในหน่วยรับตรวจเกิดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบและตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของการควบคุมภายใน รวมทั้งดำรงรักษาไว้ซึ่งสภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดี
คณะกรรมการบริหาร/ คณะกรรมการตรวจสอบ ปรัชญา/ลักษณะการทำงานของผู้บริหาร ความซื่อสัตย์/จริยธรรม ความรู้ ความสามารถทักษะของบุคลากร โครงสร้างการจัดองค์การ นโยบาย/การบริหารทรัพยากรบุคคล การมอบอำนาจหน้าที่/ ความรับผิดชอบ สภาพแวดล้อมของการควบคุม(Control Environment) ให้เกิดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบให้บรรลุเป้าหมาย
2. การประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ซึ่ง ไม่พึงประสงค์ที่ทำให้งานไม่ประสบความสำเร็จตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด
การประเมินความเสี่ยง มาตรฐาน: ฝ่ายบริหารต้องประเมินความเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายใน และภายนอกที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของ หน่วยรับตรวจอย่างเพียงพอและเหมาะสม
การบริหารความเสี่ยง • โครงสร้าง • ระบบงาน • คน • ทรัพย์สิน • งบประมาณ * ยอมรับ * ป้องกัน/ควบคุม * ถ่ายโอน/กระจาย * หลีกเลี่ยง วิเคราะห์/จัดลำดับ ระบุ * โอกาส * ผลกระทบ ศึกษา ทำความเข้าใจ * ความเสี่ยงอะไร * ส่งผลกระทบ อย่างไร วัตถุประสงค์ เป้าหมาย การประเมินความเสี่ยง ทราบความเสี่ยงและหาทางลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง 1. การระบุปัจจัยเสี่ยง (Risk Identification) 2. การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) 3. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
การประเมินความเสี่ยง เทคนิคในการระบุความเสี่ยง การระดมสมอง จากกลุ่ม การใช้ CHECKLIST แผนภูมิ การวิเคราะห์ระบบ การวิเคราะห์โครงข่าย เทคนิค การวิเคราะห์ สถานการณ์
ทำความเข้าใจกับสาเหตุการเกิดความเสี่ยงทำความเข้าใจกับสาเหตุการเกิดความเสี่ยง (เกิดขึ้นบ่อยหรือไม่) คาดการณ์ถึงผลกระทบ (ตัวเงินและไม่ใช่เงิน) กระบวนการตัดสินใจว่าจะดำเนินการอย่างไรกับความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยง ตัวอย่างการวิเคราะห์ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยง ตัวอย่างการวิเคราะห์ความเสี่ยง
ความเสี่ยงจากลักษณะธุรกิจ ความเสี่ยงจากการควบคุมภายใน ความเสี่ยงจากการตรวจไม่พบข้อผิดพลาด การประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยงที่ผู้บริหารต้องพิจารณา