3.09k likes | 5.92k Views
ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก. โรคไข้เลือดออก DENGUE HAEMORRHAGIC FEVER ; DHF. เชื้อที่เป็นสาเหตุ : VIRUS DENGUE มี 4 SEROTYPES DEN-1 DEN-2 DEN-3 DEN-4. การติดต่อ. วงจรชีวิตของยุงลาย. ยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออก. ยุงลายบ้าน Aedes aegypti. ยุงลายสวน Aedes albopictus.
E N D
ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกDENGUE HAEMORRHAGIC FEVER ; DHF เชื้อที่เป็นสาเหตุ : VIRUS DENGUE มี 4 SEROTYPES • DEN-1 • DEN-2 • DEN-3 • DEN-4
ยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออกยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออก ยุงลายบ้าน Aedes aegypti ยุงลายสวน Aedes albopictus
ออกหากินในเวลากลางวัน 8.00-17.00 น. หากินไม่ไกลจากแหล่งเพาะพันธุ์ บินไปไม่เกิน 50 เมตร ชอบเกาะพักตามสิ่งห้อยแขวนต่างๆ ยุงลายตัวเมียกินเลือดประมาณ 3-4 วัน/ครั้ง หลังกินเลือด 2-3 วัน วางไข่ ชอบวางไข่ในตอนบ่ายๆ ไม่ชอบแสงและลมแรง ยุงลายบ้านชอบกัดคนในบ้าน ยุงลายสวนชอบกินเลือดสัตว์ และคนนอกบ้าน มีอายุประมาณ 1-2 เดือน ชีวนิสัยของยุงลาย
น้ำสะอาด น้ำสกปรก ยุงลายบ้านร้อยละ 49 - 97 วางไข่ตามภาชนะที่มีน้ำสะอาด ยุงลายชอบวางไข่ที่ใด
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย
การระบาดของโรคขึ้นอยู่กับองค์ประกอบการระบาดของโรคขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 1. คน ได้แก่ กลุ่มอายุ ภูมิคุ้มกันโรค และการได้รับเชื้อ ในอดีต 2. ชนิดชองเชื้อเดงกี่ไวรัสที่ระบาดในพื้นที่นั้น ในปีนั้น ในขณะนั้น 3. องค์ประกอบอื่นๆ ได้แก่ ความชุกชุมของยุงลาย การเดินทาง การเคลื่อนย้ายของ ปชก. ความหนาแน่นของชุมชน
ม. A ม. B การแพร่ของโรคไข้เลือดออก • ยุงลายบินระยะใกล้ประมาณ 100-200 เมตร • คนที่มีเชื้อเดงกี่ไวรัสเข้าไปในพื้นที่ที่มีพาหะของโรค
สถานการณ์ไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2501 - 2546 อัตราป่วยต่อแสนประชากร ปี 2530 ระบาดรุนแรง (325) ปี 2521 ระบาดทุกอำเภอ ระบาดครั้งแรก ใน กทม. ปี พ.ศ. 25....
การเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก มี 4 วิธี • การเฝ้าระวังผู้ป่วย • การเฝ้าระวัง Antibody ของประชาชน • การเฝ้าระวังความชุกชุมของยุงลาย (พาหะของโรค) • การเฝ้าระวังชนิดของ Dengue type
การสอบสวนโรค • จะไม่สอบสวนทุกราย • สอบสวนผู้ป่วยรายแรกของพื้นที่
การกำจัดหรือควบคุมลูกน้ำยุงลายการกำจัดหรือควบคุมลูกน้ำยุงลาย • การกำจัดทางกายภาพ • การกำจัดทางชีววิทยา • การกำจัดด้วยสารเคมี
ขั้นตอนในการพยากรณ์โรคขั้นตอนในการพยากรณ์โรค • การพยากรณ์การระบาดในระยะไกล ต้องใช้ข้อมูลเฝ้าระวังโรคในระดับจังหวัด อย่างน้อย 8-10 ปี วิเคราะห์การระบาด • การพยากรณ์ระยะใกล้ ถ้าพบว่าเดือน ม.ค. – เม.ย. มีผู้ป่วยมากกว่าค่ามัธยฐาน 5-7 ปี แสดงว่าการระบาดจะรุนแรง ระยะนี้มีเวลาพอที่จะกำจัดลูกน้ำและตัวแก่ได้ทันก่อนฤดูฝน
ขั้นตอนในการป้องกันโรคขั้นตอนในการป้องกันโรค • หลังจากพยากรณ์การระบาดและเลือกพื้นที่เสี่ยงต่อการระบาดรุนแรง ในระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และจังหวัดแล้ว ออกไปกำจัดลูกน้ำและตัวแก่ เพื่อลดจำนวนลูกน้ำยุงลายให้ต่ำสุดก่อนฤดูฝน • ทำการเฝ้าระวังผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เมื่อพบผู้ป่วยจะต้องรายงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบและออกไปกำจัดตัวแก่ทันที ตามด้วยการกำจัดลูกน้ำในช่วงเวลาเดียวกัน
ขั้นตอนในการควบคุมโรคขั้นตอนในการควบคุมโรค 1. เฝ้าระวังผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เมื่อพบ Pt.ต้องรายงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ ภายใน 24 ชม. แล้วออกไปกำจัดตัวแก่ทันทีในบ้านและรอบบ้านผู้ป่วย รัศมี 50-100 ม. ถ้าชุมชนหนาแน่นต้องพ่นยาให้กว้าง ถ้าชุมชนกระจาย ไม่ต้องพ่นยาให้กว้าง (ขึ้นอยู่กับสถานที่) ตามด้วยการกำจัดลูกน้ำยุงลาย 2. ควรทำแผนที่บ้านผู้ป่วยในระดับหมู่บ้าน คอยติดตามอย่างใกล้ชิด และสม่ำเสมอ
แนวทางในการเลือกหมู่บ้านเสี่ยงสูงแนวทางในการเลือกหมู่บ้านเสี่ยงสูง • หมู่บ้านที่ไม่เคยเกิดโรค แต่อยู่ใกล้พื้นที่เคยเกิดโรคเมื่อ 1-3 ปีที่ผ่านมา • หมู่บ้านที่ไม่เคยเกิดโรค และเป็นชุมชนหนาแน่น • หมู่บ้านที่มีการคมนาคมจากชุมชนใหญ่สะดวก และพื้นที่ที่มีการไปมาหาสู่กันเสมอ • หมู่บ้านที่มีความชุกชุมยุงลายสูง • หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยหรือมีการระบาดในปีก่อน หรือหมู่บ้านที่มีผู้ป่วยไม่ติดต่อกัน 3 ปี
องค์ประกอบอื่น ที่ช่วยในการควบคุมไข้เลือดออก • วัสดุ อุปกรณ์ งบประมาณ ต้องเพียงพอ • สารเคมี ต้องมีคุณภาพ เครื่องพ่นยุงลาย ต้องดี • การกำจัดยุงลายพาหะและลูกน้ำ ต้องทำทุก หมู่บ้าน ทุกภาชนะ ทำอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ ทุก 7 วัน • ได้รับความร่วมมือจากประชาชน
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ดัชนีความชุกของลูกน้ำ 1 2 3 4 บ้าน (4) บ้านมีลูกน้ำ (3) HI BI ภาชนะมีน้ำ (10) ภาชนะมีลูกน้ำ (5) CI HI = 3 X 100 = 75 % 4 CI = 5x 100 = 50 % 10 BI = 5X 100 = 125 4