870 likes | 1.81k Views
ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และ ข้อควรรู้ในการจัดซื้อ/จัดจ้าง. หัวข้อนำเสนอในวันนี้. ระเบียบพัสดุฯ และหลักการบริหารพัสดุ การจัดทำราคากลางตามกฎหมาย ปปช. การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์ (e- GP ) ข้อควรระวังและความเสี่ยงของการจัดซื้อ
E N D
ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และ ข้อควรรู้ในการจัดซื้อ/จัดจ้าง
หัวข้อนำเสนอในวันนี้ • ระเบียบพัสดุฯ และหลักการบริหารพัสดุ • การจัดทำราคากลางตามกฎหมาย ปปช. • การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทาง • อิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) • ข้อควรระวังและความเสี่ยงของการจัดซื้อ • ระเบียบบริหารจัดการและเกณฑ์จริยธรรม • การจัดซื้อจัดหายาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา
ความหมาย “พัสดุ” และ “การพัสดุ” พัสดุ หมายความว่า วัสดุ ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ ของสำนักงบประมาณ
ความหมาย “พัสดุ” และ “การพัสดุ” • การจัดทำเอง • การซื้อ • การจ้าง • การจ้างที่ปรึกษา • การจ้างออกแบบและควบคุมงาน • การแลกเปลี่ยน • การเช่า • การควบคุม • การจำหน่าย การพัสดุ
ความหมาย เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ
"เจ้าหน้าที่พัสดุ " หมายความว่า เจ้าหน้าที่ซึ่งดารงตำแหน่งที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการพัสดุหรือผู้ได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้มีหน้าที่หรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการพัสดุตามระเบียบฯ มี 2 กรณี 1. เจ้าหน้าที่พัสดุโดยตำแหน่ง หมายถึง เจ้าหน้าที่ซึ่งดำรงตำแหน่ง ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการพัสดุ 2. เจ้าหน้าที่พัสดุโดยการแต่งตั้ง หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการ ให้มีหน้าที่ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการพัสดุ “เจ้าหน้าที่พัสดุ”
“หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ”“หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ” " หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ " หมายความว่า หัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือที่มีฐานะเทียบกองซึ่งปฏิบัติงานในสายงานที่เกี่ยวกับการพัสดุ ตามที่องค์กรกลางบริหารงานบุคคลกำหนด หรือข้าราชการอื่นซึ่งได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ แล้วแต่กรณี ตามระเบียบฯ มีได้ 2 กรณี ตามหนังสือ นร. ที่ นร.(กวพ.) 1304/ว.7212 ลง 17 ก.ค.50 1. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุโดยตำแหน่ง หมายถึง ผู้ที่ดำรงตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานระดับกอง หรือที่มีฐานะเทียบกองและมีหน้าที่ปฏิบัติงานในสายงานที่เกี่ยวข้องกับการพัสดุ ในกรณีที่ส่วนราชการใดไม่มีกองพัสดุ หรือไม่มีกองที่มีหน้าที่ปฏิบัติงาน ในสายงานพัสดุให้ถือว่า หัวหน้าฝ่ายพัสดุหรือหัวหน้าฝ่ายที่ปฏิบัติงานในสายงานที่เกี่ยวกับการพัสดุ ตามที่องค์กรบริหารงานบุคคลกำหนดเป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุโดยตำแหน่ง ตามหนังสือ นร ที่ นร (กวพ) 1304 / ว 7212 ลง 17 ก.ค.50 2. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุโดยได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการ หมายถึงข้าราชการอื่น ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการ ให้เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
" หัวหน้าส่วนราชการ " - สำหรับราชการบริหารส่วนกลาง หมายความว่า อธิบดี หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นนิติบุคคล - สำหรับราชการบริหารส่วนภูมิภาค หมายความว่า ผู้ว่าราชการจังหวัด - หัวหน้าส่วนราชการมีอำนาจในการดำเนินการตามระเบียบฯ นี้ หลายประการ สำหรับในส่วนที่เกี่ยวกับการซื้อหรือการจ้างจำแนกได้ 2 ประการคือ 1. อำนาจในการดำเนินการซื้อ หรือการจ้าง เช่น เห็นชอบในการดำเนินการซื้อหรือการจ้าง การแต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ และการทำสัญญา เป็นต้น 2. อำนาจในการสั่งซื้อหรือสั่งจ้าง การสั่งจ้างที่ปรึกษา และการสั่งจ้างออกแบบ และควบคุมงานภายในวงเงินที่อยู่ในอำนาจของหัวหน้าส่วนราชการ ส่วนวงเงินที่เกินอำนาจของหัวหน้าส่วนราชการนั้นให้ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไปเป็นผู้พิจารณา “หัวหน้าส่วนราชการ”
วิธีการซื้อการจ้าง ตกลงราคา ประกวดราคา สอบราคา ไม่เกิน 1 แสน เกิน 2 ล้าน เกิน 1 แสน แต่ไม่เกิน 2 ล้าน (ข้อ 21,44-56) (ข้อ 19,39) (ข้อ 20,40-43) พิเศษ กรณีพิเศษ e-Auction เกิน 1 แสน + เงื่อนไข ไม่กำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข ตั้งแต่ 2 ล้าน (ข้อ 23-24 , 57-58) (ข้อ 26,59) (ระเบียบ 2549)
กฎ ระเบียบ ด้านพัสดุ • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 • และที่แก้ไขเพิ่มเติม • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2549 • การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ e-GP • กฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรี • ที่เกี่ยวข้อง • ประกาศคณะกรรมการ ปปช. มาตรา 103/7 • บัญชี รับ-จ่าย
หลักการบริหารพัสดุ โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม ความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน
ขั้นตอนกระบวนการจัดหาพัสดุขั้นตอนกระบวนการจัดหาพัสดุ ขออนุมัติ สั่งซื้อสั่งจ้าง ทำสัญญา เตรียม การจัดหา ขอความ เห็นชอบ อนุมัติ สั่งซื้อสั่งจ้าง ตรวจรับพัสดุ หรืองาน ดำเนินการ ตามสัญญา ดำเนินการ จัดหา การเบิกจ่าย การให้ความ เห็นชอบ 4 3 5 1 2 10 9 7 6 8
การเตรียมการจัดหาพัสดุการเตรียมการจัดหาพัสดุ • ศึกษา กฎหมาย ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องเช่น ด้านการเงิน การพัสดุ การงบประมาณ • ตรวจสอบงบประมาณ • สำรวจความต้องการ จัดทำแผน จัดซื้อจัดจ้าง • ขอบเขตของงาน (TOR) • รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (SPEC) • แบบรูปรายการละเอียด • ราคากลาง • เอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง • จัดทำร่างคำสั่งแต่งตั้งกรรมการ • จัดทำร่างขอความเห็นชอบ จัดเตรียมความพร้อม ก่อนการจัดหา • ระเบียบ คตง. เรื่องแผนปฏิบัติการจัดซื้อ • จัดจ้าง พ.ศ. 2546 • -ครุภัณฑ์ ราคาเกิน 1 แสนบาท • -ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง ราคาเกิน 1 ล้านบาท
แบบแข่งขัน ต้องเปิดเผย ประกาศทราบทั่วกัน ต้องโปร่งใสตรวจสอบได้ ต้องเป็นธรรม เงื่อนไข เสมอภาค ไม่ขัดขวาง ผ่อนปรน ไม่ก่อให้เกิดการ ได้เปรียบเสียเปรียบ ตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ ร่วมกัน ? แบบไม่แข่งขัน ต้องตรวจสอบได้
การขอความเห็นชอบ รายละเอียด (ระเบียบฯ ข้อ 27) เหตุผลงานความจำเป็นที่ต้องซื้อหรือจ้าง รายละเอียดของพัสดุที่จะซื้อหรืองานที่จะจ้าง ราคามาตรฐาน หรือราคากลางของทางราชการ หรือราคาที่เคยซื้อหรือจ้างครั้งหลังสุดภายในระยะเวลา 2 ปีงบประมาณ วงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง กำหนดเวลาที่ต้องการใช้พัสดุนั้น หรือให้งานแล้วเสร็จ วิธีที่จะซื้อหรือจ้าง ข้อเสนออื่นๆ เจ้าหน้าที่พัสดุ จัดทำรายงาน ขอซื้อขอจ้าง
การให้ความเห็นชอบ และแต่งตั้งคณะกรรมการ หัวหน้า เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ หรือผู้ได้รับมอบอำนาจ ให้ความเห็นชอบรายงาน • ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ • เปิดซองสอบราคา • รับและเปิดซองประกวดราคา • พิจารณาผลการประกวดราคา • จัดซื้อ/จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ • ประกวดราคาตามโครงการ • ตรวจรับพัสดุ • ตรวจการจ้าง หัวหน้าส่วนราชการ หรือ ผู้ได้รับมอบอำนาจ
คณะกรรมการตามระเบียบ คณะกรรมการกำหนดราคากลาง เตรียมการ คณะกรรมการกำหนดร่างขอบเขตของงาน (TOR) และร่างเอกสารประกวดราคา คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา คณะกรรมการ ประกวดราคา คณะกรรมการจัดซื้อ/จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ตรวจรับ คณะกรรมการตรวจการจ้าง+ ผู้ควบคุมงาน
หลักการแต่งตั้งคณะกรรมการหลักการแต่งตั้งคณะกรรมการ ใช้หลัก 2 ห้าม 3 ไม่ควร • ห้ามแต่งตั้งคณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา เป็นคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • ห้ามแต่งตั้งคณะกรรมการเปิดซองสอบราคา หรือคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา หรือคณะกรรมการประกวดราคา เป็นคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ • ไม่ควรตั้งหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ เป็นคณะกรรมการเปิดซองสอบราคา หรือคณะกรรมการพิจารณาผลประกวดราคา • ไม่ควรตั้งผู้ควบคุมงานเป็นคณะกรรมการตรวจการจ้าง • ไม่ควรตั้งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน เป็นคณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง
การอนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้างการอนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง อำนาจอนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง
ขั้นตอนวิธีตกลงราคา/วิธีสอบราคาขั้นตอนวิธีตกลงราคา/วิธีสอบราคา และวิธีประกวดราคาด้วยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction)
เริ่มต้น เริ่มต้น เริ่มต้น ขั้นตอนวิธีตกลงราคา เริ่มต้น เสนอ หน.จนท.พัสดุ เพื่อออกใบสั่งซื้อ/จ้าง ภายในวงเงินที่ได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ จนท.พัสดุ จัดทำรายงานขอซื้อ/ขอจ้าง ตามระเบียบข้อ 27 เสนอผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ เสนอหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อขอความเห็นชอบ รับรายงานความต้องการพัสดุจากหน่วยงาน (บันทึกขออนุมัติในหลักการ) ซึ่ง ผอก. ให้ความเห็นชอบ คัดเลือกผู้ขาย/ ผู้รับจ้าง เสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อทราบและอนุมัติเบิก-จ่ายเงิน คกก.ตรวจรับพัสดุ ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ส่งมอบพัสดุ จนท.พัสดุ ส่งมอบใบสั่งซื้อ/จ้างให้ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง จัดเก็บ/ส่งมอบพัสดุ รวบรวมหลักฐาน ส่งการเงิน ลงบัญชี/ทะเบียน
เริ่มต้น เริ่มต้น ขั้นตอนวิธีสอบราคา รายงานผลการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะและราคากลางเสนอ หน.ส่วนราชการ เพื่อขอความเห็นชอบ จัดทำรายงานขอซื้อ/จ้าง ตามระเบียบข้อ 27 พร้อมแต่งตั้ง คกก. จัดทำประกาศเชิญชวน แต่งตั้ง คกก. กำหนดรายละเอียด คุณลักษณะเฉพาะและราคากลาง คกก.กำหนดรายละเอียด คุณลักษณะเฉพาะและราคากลาง เริ่มต้น เรียกทำสัญญา ซื้อ/จ้าง คณะกรรมการ เปิดซองสอบราคา พร้อมรายงานผล หัวหน้าส่วนราชการอนุมัติซื้อ/จ้าง รับซอง,เปิดซอง สอบราคา เผยแพร่ประกาศสอบราคา/แจกจ่ายประกาศ ทำสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจ้าง - กรณีสัญญาเกิน 1 ล้านบาท ส่งสำเนาสัญญาให้ สตง.,สรรพากร - ส่งสำเนาสัญญาให้คณะกรรมการ ตรวจรับพัสดุ /ตรวจการจ้าง และช่างควบคุมงาน ไม่ทำสัญญา - พิจารณาเป็นผู้ทิ้งงาน - ดำเนินการซื้อ/จ้าง จากรายอื่น ส่งมอบ สิ้นสุด เบิกจ่ายเงิน ตรวจรับ
ขั้นตอนวิธีประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) 1.ขั้นตอนการจัดทำร่างขอบเขตของงาน (Term of Reference : TOR) ราคากลาง และร่างเอกสารประกวดราคา 1.2 คกก. จัดทำร่างขอบเขตของงาน (TOR) และร่างเอกสารประกวดราคาและจัดทำราคากลางตามประกาศ ปปช./เสนอหัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบ 1.3 เผยแพร่ร่างขอบเขตของงาน (TOR) และร่างเอกสารประกวดราคาและราคากลาง ลงเว็บไซต์ของหน่วยงาน และกรมบัญชีกลาง เพื่อให้สาธารณชนเสนอแนะ หรือวิจารณ์ 1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการร่างขอบเขต ของงาน ( Term of Reference : TOR) ราคากลางและร่างเอกสารประกวดราคา 2.ขั้นตอนการจัดทำรายงานขอซื้อ/ขอจ้าง 2.2 คัดเลือกผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ และกำหนด วัน เวลา และสถานที่ ในการเสนอราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 2.1 แต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคาและคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง/ผู้ควบคุมงาน 2.3 เสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อลงนามในประกาศ ประกวดราคา 3.ขั้นตอนการเผยแพร่เอกสารประกาศเชิญชวน 3.1ขาย/แจกจ่ายและเผยแพร่เอกสารประกาศประกวดราคา
ขั้นตอนวิธีประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) 4.ขั้นตอนการรับซองเสนอทางด้านเทคนิค 4.2 รับซองเอกสารข้อเสนอทางด้านเทคนิค 4.1 ให้ผู้ซื้อจัดทำเอกสาร 5.ขั้นตอนพิจารณาคัดเลือกเบื้องต้นเพื่อหาผู้มีสิทธิเข้าไปเสนอราคา (เคาะราคา) 5.1 คณะกรรมการประกวดราคาพิจารณาเอกสาร/คัดเลือกเบื้องต้น 6.ขั้นตอนการแจ้งผลการคัดเลือกเบื้องต้น 6.1 แจ้งผลการคัดเลือกเบื้องต้นให้ผู้ยื่นเอกสารทราบเฉพาะราย ทุกราย 6.2 แจ้งผลการคัดเลือกเบื้องต้นให้ผู้ให้บริการตลาดกลางฯ
ขั้นตอนวิธีประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) 7.ขั้นตอนการอุทธรณ์ผลการพิจารณาคัดเลือกเบื้องต้น (ถ้ามี) 8.ขั้นตอนการแจ้งนัดหมายผู้มีสิทธิเสนอราคาเพื่อดำเนินการเข้าสู่กระบวนการเสนอราคา 8.1 แจ้งนัดหมายผู้มีสิทธิเสนอราคา 8.2 แจ้งให้ผู้บริการตลาดกลาง 9.ขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อเข้าสู่กระบวนการเสนอราคา 9.1 ผู้เสนอราคา มาลงทะเบียนตามวันเวลา และสถานที่ที่แจ้ง Minimum Bid 0.2 9.2 เสนอราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (เคาะราคา)
ขั้นตอนวิธีประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) 10.ขั้นตอนภายหลังเสนอราคาเสร็จ 10.1 คณะกรรมการฯ รายงานผลการพิจารณาและความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการ ภายในวันทำการถัดไป 10.2 เสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อขออนุมัติสั่งซื้อ/จ้าง จากผู้เสนอราคา ในวงเงินที่เสนอราคาต่ำสุด 11.ขั้นตอนอนุมัติสั่งซื้อหรือสั่งจ้าง 11.1 ลงประกาศรายชื่อ ผู้ชนะการเสนอราคาในระบบ e-GP 11.2 แจ้งผลการเสนอราคาให้ผู้มีสิทธิเสนอราคาทราบทุกราย 11.3 แจ้งผู้เสนอราคาที่ชนะการเสนอราคา เพื่อทำสัญญา 12.ขั้นตอนการจัดทำสัญญา 12.1 หัวหน้าส่วนราชการในส่วนภูมิภาคลงนามในสัญญา
ขั้นตอนวิธีประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) 13.ขั้นตอนคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง 13.2 เจ้าหน้าที่พัสดุเสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อทราบ และแจ้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อทราบ และดำเนินการ 13.1 ผู้ขายทำหนังสือแจ้งส่งมอบตามสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษร 13.3 คณะกรรมการทำการตรวจรับภายใน 3-5 วัน ทำการนับจากวันที่ผู้ขายส่งมอบ 13.6 การตรวจรับ ไม่ผ่าน แจ้งผู้ขายทำการแก้ไข พร้อมส่งมอบใหม่ 13.5 การตรวจรับ ผ่าน ส่งเอกสารเบิกจ่ายการเงิน 13.4 คณะกรรมการตรวจรับรายงานหัวหน้าส่วนราชการ ตรวจรับ ผ่าน/ไม่ผ่าน
การทำสัญญา แบบสัญญา ให้ทำสัญญา ตามแบบที่กำหนด ถ้าต้องเพิ่มเติมข้อความ หรือรายการแตกต่างในสาระสำคัญ ถ้าเห็นว่าไม่เสียเปรียบก็ให้ทำได้ ถ้าเพิ่มเติมข้อความในสาระสำคัญแล้วอาจเสียเปรียบ หรือต้องการยกร่างสัญญาใหม่ ต้องให้สำนักงานอัยการสูงสุดตรวจร่างก่อน
การดำเนินการตามสัญญา • การบริหารสัญญา • การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาหรือข้อตกลง • การงด หรือลดค่าปรับ หรือขยายระยะเวลา • การบอกเลิกสัญญา • การสั่งทิ้งงาน
การตรวจรับพัสดุ คู่สัญญาซื้อขาย แจ้งกำหนดส่งมอบล่วงหน้าตามเวลาที่กำหนด เจ้าหน้าที่พัสดุ แจ้งกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจรับ ส่งพัสดุให้เจ้าหน้าที่พัสดุ ทำการตรวจรับ ในวันนัดหมาย ผู้ขาย ถูกต้องรับไว้ ทำใบตรวจรับ ไม่ถูกต้อง คืนส่งมอบใหม่
การเบิกจ่าย • เจ้าหน้าที่พัสดุรวบรวมหลักฐานอันเป็น • เอกสารแห่งหนี้ที่เกี่ยวกับการจัดหาพัสดุ • ส่งหน่วยงานการเงินเบิกจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนี้ หรือผู้มีสิทธิรับเงิน
การเปิดเผยราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ตามประกาศ ปปช.
การเปิดเผยราคากลาง และการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและราคากลางในงานจ้างก่อสร้าง
การเปิดเผยราคากลาง และการคำนวณราคากลาง การจัดซื้อจัดจ้างซึ่งมิใช่งานก่อสร้าง ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและราคากลาง (ราคาอ้างอิง) ในการจัดซื้อจัดจ้างที่มิใช่งานก่อสร้าง
แหล่งที่มาของราคากลางแหล่งที่มาของราคากลาง ให้ระบุแหล่งที่มาของราคาหรือวิธีคำนวณราคาที่ใช้ในการจัดซื้อ จัดจ้างตามแนวทาง ปฏิบัติของหน่วยงานของรัฐนั้นๆ เช่น กรณีส่วนราชการอาจใช้วิธีการคำนวณราคาตามหลักเกณฑ์ ที่คณะรัฐมนตรีหรือกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังกำหนด เช่น ราคากลางของเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ตามที่ สธ.0228.07.2/ว 686 ลว. 9 สิงหาคม 2556 แจ้งแนวทางการเปิดเผยราคากลางในการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา ให้หน่วยงานของรัฐใช้ราคา มาตรฐานของเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่กระทรวงสาธารณสุขจัดทำขึ้น หากไม่มีราคามาตรฐานที่กำหนด ให้ใช้ ราคาที่เคยซื้อครั้งหลังสุดภายในระยะเวลา 2 ปีงบประมาณ หรือหากไม่มีราคาที่เคยซื้อครั้งหลังสุด ภายในระยะเวลา 2 ปีงบประมาณ ให้ใช้ราคาตลาดโดยสืบราคาจากท้องตลาดรวมทั้งเว็บไซต์ต่างๆ เป็นราคาอ้างอิง กรณีใช้ราคามาตรฐานที่ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ให้ระบุว่า ตามมาตรฐานของ กระทรวงสาธารณสุข กรณีใช้ราคาที่เคยซื้อครั้งหลังสุดภายในระยะเวลา 2 ปีงบประมาณ ให้ระบุว่า ใช้ราคา ที่เคยซื้อครั้งหลังสุดภายในระยะเวลา 2 ปีงบประมาณ ตามสัญญา เลขที่........ เดือน..... พ.ศ. ......
เงื่อนไขการประกาศ วงเงินที่ต้องประกาศ ให้หน่วยงานของรัฐประกาศรายละเอียดข้อมูลราคากลางและการคำนวณราคา กลางในการจัดซื้อจัดจ้างที่มีวงเงินเกินกว่าหนึ่งแสน (100,000) บาท ไม่ว่าจะเป็นการ จัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการใดๆ ก็ตาม วิธีการประกาศ ให้หน่วยงานของรัฐประกาศรายละเอียดข้อมูลราคากลางและการคำนวณราคา กลางในการจัดซื้อจัดจ้างในระบบฐานข้อมูล (เว็บไซต์) 2 แห่ง ดังนี้ 1. ในระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของกรมบัญชีกลาง (ระบบ e-GP) 2. ในเว็บไซต์ของหน่วยงานของรัฐที่จัดซื้อจัดจ้าง
ปัญหาการจัดซื้อ/จัดจ้าง • จัดซื้อพัสดุในราคาแพง • แบ่งซื้อแบ่งจ้าง ทำให้วิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง และผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ/สั่งจ้าง เปลี่ยนไป • ระเบียบพัสดุฯ มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง และต้องถือปฏิบัติตามกฎหมาย ปปช. • ที่เกี่ยวข้อง • กฎหมาย ปปช. มาตรา 103/7 กำหนดให้การจัดซื้อ/จัดจ้าง ครั้งหนึ่งที่มีวงเงินมากกว่า • หนึ่งแสนบาท ต้องจัดทำราคากลาง • กรมบัญชีกลางกำหนดให้การจัดซื้อ/จัดจ้างครั้งหนึ่งที่มีวงเงินตั้งแต่ 5,๐๐๐.-บาท • ต้องบันทึกในระบบ e-GP ทุกแหล่งเงิน • สำนักงบประมาณกำหนดราคากลางงานจัดซื้อไว้เฉพาะครุภัณฑ์บางประเภท ในส่วนของวัสดุสิ้นเปลืองกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดราคามาตรฐานไว้เพียง 42 รายการ • การจัดซื้อพัสดุของโรงพยาบาลฯ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีราคาที่แตกต่างกัน • อย่างมาก
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 2
ประโยชน์ที่ได้รับ e-GP คือ ศูนย์กลางที่เป็นหน้าต่างในการบริการข้อมูล และดำเนินธุรกรรมทางการจัดซื้อจัดจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ การปรับปรุง นโยบายการจัดซื้อ จัดจ้างอย่างมี ประสิทธิภาพ กระตุ้นตลาด และเสริมสร้าง ขีดความสามารถ ของภาคเอกชน ความสะดวก และความทั่วถึง อย่างเท่าเทียมกัน ความโปร่งใส และมีประสิทธิภาพ
1 2 3 4 ครอบคลุมวิธีการจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด 12 วิธี ครอบคลุมทุกขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างที่มีประสิทธิภาพ สามารถติดตามการจัดซื้อจัดจ้างได้ทุกขั้นตอน เชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานภายนอก ได้แก่ GFMIS, ธนาคาร และศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย การดำเนินการบริหารสัญญา วัตถุประสงค์ e-GP ระยะที่ 2
10 1 4 7 จ้างออกแบบวิธีคัดเลือก จ้างที่ปรึกษาวิธีตกลง วิธีตกลงราคา วิธี e-Auction จ้างออกแบบวิธีคัดเลือกแบบจำกัดข้อกำหนด 2 5 8 11 จ้างที่ปรึกษาวิธีคัดเลือก วิธีพิเศษ วิธีสอบราคา 12 6 3 9 จ้างออกแบบวิธีตกลง จ้างออกแบบวิธีพิเศษ วิธีกรณีพิเศษ วิธีประกวดราคา วิธีการจัดซื้อจัดจ้างครบทั้งหมด 12 วิธี
12. จัดทำหนังสือ อนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง 15. ตรวจสอบหลักประกันสัญญา และจัดทำสัญญา 13. ประกาศรายชื่อผู้ชนะการ เสนอราคาขึ้นเว็บไซต์ 14. จัดทำร่างสัญญา 17. บริหารสัญญา 16. ข้อมูลสาระสำคัญ ในสัญญา 18. ลงทะเบียนทรัพย์สินตั้งเบิก/เบิกจ่าย ครอบคลุมทุกกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ระบบ e-GP 7. ประกาศเชิญชวน ขึ้นเว็บไซต์ 8บันทึกรายชื่อผู้ขอรับ เอกสาร/ซื้อเอกสาร 5. จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง และแต่งตั้งคณะกรรมการ 6. จัดทำเอกสารสอบราคา/ ประกวดราคา/ประกวดแบบ/ จัดทำประกาศเชิญชวน 4. ร่าง TOR และร่างเอกสาร /ปรับปรุงร่าง TOR และร่างเอกสาร ยื่นหลักประกัน 2. จัดทำแผนการจัดซื้อ จัดจ้าง ประจำปีงบประมาณ ซื้อซอง online 9 บันทึกรายชื่อ ผู้ยื่นเอกสารเสนอราคา 3. สร้างโครงการ จัดซื้อจัดจ้าง 1. ได้รับงบประมาณ ประจำปี 10. บันทึกรายชื่อผู้ผ่านการ พิจารณา และแจ้งผลการพิจารณา ขั้นตอนในระบบ GFMIS ขั้นตอนที่เพิ่มใหม่ในระบบ e-GP 2 ขั้นตอนที่มีอยู่เดิมในระบบ e-GP 1 11. นัดหมายเสนอราคา และแจ้งรายชื่อผู้มีสิทธิเสนอราคา มีขั้นตอนย่อยที่เพิ่มใหม่ในระบบ e-GP 2 นำข้อมูลงบประมาณ จาก GFMIS เข้า e-GP ระบบ GFMIS นำข้อมูล PO จาก e-GP เข้า GFMIS
ร่างสัญญาและการบริหารสัญญาร่างสัญญาและการบริหารสัญญา • การดำเนินงานตามสัญญา • การส่งมอบงาน • การตรวจรับงาน • การเบิกจ่ายเงิน • การแก้ไขสัญญา • การยกเลิกสัญญา • การแจ้งส่งมอบงาน • การแจ้งค่าปรับ
วิธีตกลงราคา 8 1 2 4 6 5 7 3 จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างและแต่งตั้งคณะกรรมการ จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อ สั่งจ้าง ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา บันทึกเลขที่และวันที่ของเอกสารและคำสั่ง จัดทำร่างสัญญา ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา บันทึกราคาของผู้เสนอราคา การบริหารสัญญา สร้างโครงการ
วิธีสอบราคา / วิธีประกวดราคา 4 3 12 11 9 14 2 1 5 8 7 6 10 13 ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างและแต่งตั้งคณะกรรมการ บันทึกเลขที่และวันที่ของเอกสารและคำสั่ง จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อ สั่งจ้าง บันทึกและประกาศรายชื่อ ผู้ผ่านการตรวจสอบ ประกาศรายชื่อ ผู้ชนะการเสนอราคาขึ้นเว็บไซต์ บันทึกรายชื่อ ผู้ผ่านการพิจารณา บันทึกราคาของผู้เสนอราคา ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา การบริหารสัญญา จัดทำร่างสัญญา บันทึกรายชื่อ ผู้ยื่นเอกสารเสนอราคา ประกาศ เชิญชวน ขึ้นเว็บไซต์ บันทึกรายชื่อ ผู้ขอรับเอกสาร/ซื้อเอกสาร แผนการจัดซื้อจัดจ้าง สร้างโครงการ