360 likes | 459 Views
การบริการของกรมชลประทาน. สายชล. วันที่ 25 พฤศจิกายน 2552. ข้อมูลเบื้องต้น. การเดินทาง. อบต. ท่าช้าง. โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษานครนายก. จุดเริ่มต้น. จุดนัดพบ. องค์การบริหารส่วนตำบล ท่าช้าง. สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ตำบลท่าช้าง. สภาพภูมิประเทศ
E N D
การบริการของกรมชลประทานการบริการของกรมชลประทาน สายชล วันที่ 25 พฤศจิกายน 2552
การเดินทาง อบต.ท่าช้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษานครนายก จุดเริ่มต้น จุดนัดพบ
องค์การบริหารส่วนตำบล ท่าช้าง
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ตำบลท่าช้าง สภาพภูมิประเทศ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำนครนายกเป็นแม่น้ำสายหลัก และมีลักษณะดินเป็นดินปนทรายและดินเหนียวเหมาะแก่การทำนาและทำสวน เขตการปกครอง แบ่งออกเป็น 12 หมู่บ้าน
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ตำบลท่าช้าง ศาสนา พุทธ คริสต์ อิสลาม ประชากร (พ.ศ.2552) รวมทั้งสิ้น 4,679 คน เพศชาย 2,199 คน เพศหญิง 2,480 คน
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ตำบลท่าช้าง โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพหลักทำการเกษตรกรรม และประกอบอาชีพอื่นๆ ทำนา/ทำไร่ อื่นๆ ทำสวนพันธุ์พืชต่างๆ ค้าขาย เลี้ยงสัตว์ รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ รับจ้างทั่วไป
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษานครนายกโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษานครนายก ลักษณะโครงการ - โครงการส่งน้ำ ระบายน้ำ และเก็บกักน้ำในทุ่งราบ - พื้นที่โครงการ 424,000 ไร่ - เขื่อนนายก เป็นอาคารหัวงาน
บานระบายขนาดกว้าง 12.50 ม. x 6.00 ม. จำนวน 2 บาน • สามารถระบายน้ำได้ 250 ลบ.ม. ต่อ วินาที • พื้นที่ชลประทาน จำนวน 387,000 ไร่
ระบบส่งน้ำ คลองส่งน้ำสายใหญ่ จำนวน 4 สาย ความยาว 77.92 กม. - คลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งขวา ยาว 26.17 กม. ปริมาณน้ำ 60 ลบ.ม.ต่อวินาที - คลองเหมือง (คลองธรรมชาติ) ยาว 18.50 กม. ปริมาณน้ำ 120 ลบ.ม.ต่อวินาที - คลองส่งน้ำฝั่งซ้ายสาย 1 ยาว 15.75 กม. ปริมาณน้ำ 30 ลบ.ม.ต่อวินาที - คลองส่งน้ำฝั่งซ้ายสาย 2 (บริเวณพื้นที่สำรวจข้อมูล) ยาว 17.50 กม. ปริมาณน้ำ 30 ลบ.ม.ต่อวินาที คลองส่งน้ำสายซอย จำนวน 22 สาย ความยาว 81.60 กม.
การสำรวจข้อมูล คลองส่งน้ำฝั่งซ้ายสาย 2 (บริเวณพื้นที่สำรวจข้อมูล)
ผลการสำรวจ 4. ความต้องการของผู้ใช้น้ำชลประทาน 4.1 ด้านการใช้น้ำ มีความต้องการดังนี้
4. ความต้องการของผู้ใช้น้ำชลประทาน 4.1 ด้านการใช้น้ำ มีความต้องการดังนี้ จัดสรรน้ำให้มีน้ำใช้ตลอดปี ให้มีน้ำเพียงพอต่อการทำสวน จัดสรรน้ำให้ตรงเวลา ให้มีน้ำเพียงพอต่อการทำนาปรัง
4. ความต้องการของผู้ใช้น้ำชลประทาน • 4.2 ด้านคุณภาพน้ำ มีความต้องการดังนี้ 4.3 ด้านระบบชลประทาน มีความต้องการดังนี้
4. ความต้องการของผู้ใช้น้ำชลประทาน 4.4 ด้านช่วงเวลาที่ต้องการใช้น้ำ มีความต้องการดังนี้
4. ความต้องการของผู้ใช้น้ำชลประทาน 4.5 ความต้องการให้กรมชลประทานช่วยเหลือ หรือแก้ไขปัญหาเรื่องน้ำ
5 ด้านการมีส่วนร่วม 5 ด้านการมีส่วนร่วม 5.1 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานชลประทาน มีความรู้ความเข้าใจ ไม่มีความรู้ความเข้าใจ
5 ด้านการมีส่วนร่วม • 5.2 การมีส่วนร่วมกับงานชลประทานในปัจจุบัน เข้าร่วมการประชุม ไม่มีส่วนร่วมที่ชัดเจน
5 ด้านการมีส่วนร่วม 5.3 ความต้องการมีส่วนร่วมกับการดำเนินงานชลประทานในอนาคต
5 ด้านการมีส่วนร่วม 5.3 ความต้องการมีส่วนร่วมกับการดำเนินงานชลประทานในอนาคต เป็นสมาชิกกลุ่มผู้ใช้น้ำ
5 ด้านการมีส่วนร่วม 5.4 ช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านการชลประทาน
5 ด้านการมีส่วนร่วม 5.4 ช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านการชลประทาน จากเจ้าหน้าที่โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา จาก อบต. จากการประชุม
5 ด้านการมีส่วนร่วม 5.5 หน่วยงานที่ติดต่อเมื่อมีปัญหาเรื่องน้ำ
5 ด้านการมีส่วนร่วม 5.5 หน่วยงานที่ติดต่อเมื่อมีปัญหาเรื่องน้ำ เจ้าหน้าที่โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา
5 ด้านการมีส่วนร่วม 5.6 การรับรู้บริการสายด่วน 1460
6. ข้อคิดเห็นข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
สรุป • และ • ข้อเสนอแนะ