1 / 19

ข้อเท็จจริงสถานการณ์พลังงานของประเทศไทย

ข้อเท็จจริงสถานการณ์พลังงานของประเทศไทย. มนูญ ศิริวรรณ. สถานการณ์พลังงานของประเทศ. เป็นผู้นำเข้าพลังงานสุทธิ (ใช้น้ำมัน 800 kbd/ ผลิตได้เอง 254 kbd เป็นน้ำมันดิบ 133 kbd ) ทรัพยากรด้านพลังงานในประเทศมีจำกัด โดยเฉพาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ

helene
Download Presentation

ข้อเท็จจริงสถานการณ์พลังงานของประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อเท็จจริงสถานการณ์พลังงานของประเทศไทยข้อเท็จจริงสถานการณ์พลังงานของประเทศไทย มนูญ ศิริวรรณ

  2. สถานการณ์พลังงานของประเทศสถานการณ์พลังงานของประเทศ • เป็นผู้นำเข้าพลังงานสุทธิ (ใช้น้ำมัน 800 kbd/ผลิตได้เอง 254 kbd เป็นน้ำมันดิบ133 kbd ) • ทรัพยากรด้านพลังงานในประเทศมีจำกัด โดยเฉพาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ • สูญเสียเงินตราต่างประเทศในการนำเข้าน้ำมันปีละ 2.5-3.1 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ (0.7-1.2 ล้านล้านบาท ขึ้นอยู่กับราคาน้ำมันและอัตราแลกเปลี่ยน) - คิดเป็น 10-12%ของ GDP ( EU 2.2%, US 2.6% ) • โครงสร้างราคาพลังงานมีการบิดเบือนโดยใช้กองทุนน้ำมันเป็นเครื่องมือ (LPG, Diesel) • ประสิทธิภาพในการใช้พลังงานยังไม่ดีพอ โดยเฉพาะด้าน Logistics

  3. สถานการณ์พลังงานของประเทศ (ต่อ) • ความเสี่ยงสูงในด้านความมั่นคงของพลังงานไฟฟ้า - ใช้ก๊าชธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้าถึง 70%(สัดส่วนสูงที่สุดในโลกพอๆกับสิงคโปร์) - พึ่งพิงแหล่งก๊าซธรรมชาติจากนอกประเทศสูงถึง 25-30% • การส่งเสริมพลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียนยังไม่เป็นวาระแห่งชาติ • การประหยัดพลังงานยังเป็นแค่การรณรงค์และสมัครใจ

  4. สถานภาพปริมาณสำรองปิโตรเลียมของประเทศ ณ เดือนธันวาคม 2550 ปิโตรเลียมในประเทศ PROVED PROBABLE POSSIBLE -NG (mmcu.ft.) 8.65 8.53 4.46 -condensate (mb) 233.41 268.12 107.65 -crude (mb) 189.01 113.58 37.13 ปิโตรเลียมในพื้นที๋JDA -NG (mmcu.ft.) 3.04 2.11 3.86 -condensate (mb) 32.70 25.11 53.28 -crude (mb) 5.53 3.48 4.97 พื้นที่คาบเกี่ยวไทย-กัมพูชา -NG (mmcu.ft.) 10.00 รวมปริมาณเทียบเท่าน้ำมันดิบ (mb) 2,500 2,266 3,398 ระยะเวลาใช้งาน (เฉพาะNGในอ่าวไทย) 8 ปี 7ปี 4 ปี -รวมNGจากแหล่งJDA 19+10 = ไม่เกิน 30 ปี -รวมพื้นที่คาบเกี่ยวไทย-กัมพูชา? *Proved = confidence 90%, Probable = 50%, Possible = 10%

  5. ดุลการค้าผันแปรตามภาวะเศรษฐกิจและราคาน้ำมันดุลการค้าผันแปรตามภาวะเศรษฐกิจและราคาน้ำมัน • ปี 2551ขาดดุลการค้า 811.9 ล้านเหรียญสหรัฐ (28,416 ล้านบาท) • ยอดการนำเข้าเชื้อเพลิง - ปริมาณ + 2.7% - มูลค่า + 98.2% • ยอดการนำเข้าน้ำมันในปี 2551 ทั้งปีทำสถิติสูงสุดประมาณ 1.2 ล้านล้านบาท • มูลค่าการส่งออกสินค้าการเกษตรทั้งหมดทั้งปี ซื้อน้ำมันได้เพียง 5 เดือน • ปี 2552 มูลค่าการนำเข้าน้ำมันลดลง 5 แสนล้านบาท เหลือเพียง 7 แสนล้านบาท - ได้เปรียบดุลการค้า 22,200 ล้านเหรียญสหรัฐ (717,060 ล้านบาท) • ปี 2553/2554 มูลค่าการนำเข้ากลับมาอยู่ที่ 1 ล้านล้านบาทอีกครั้ง

  6. ผลกระทบต่อระบบ Logistics • ราคาพลังงานที่สูงขึ้นมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจค่อนข้างมาก - ระบบlogisticsของไทยพึ่งพาพลังงานสูงประมาณ30%ของต้นทุนการ ขนส่ง - ต้นทุน logisticsของไทยอยู่ที่ 18.4%ของGDP - เป้าหมายตามโครงการไทยเข้มแข็ง 15%ในปี 2555 (ระยะยาว8-9%) - ลดต้นทุนด้านการขนส่งสินค้าเหลือ 6.7% - ลดต้นทุนด้านการเก็บรักษาเหลือ 6.6%(จากปัจจุบัน 8-9%) - ค่าใช้จ่ายด้าน logisticsสินค้าเกษตรของไทย = 16%ของต้นทุนการผลิตvs.ต่างประเทศ= 7% -การขนส่งสินค้าในประเทศใช้การขนส่งทางถนน (รถบรรทุก) 86% ทางรถไฟ 2.8% (เป้าหมาย 18.5%)

  7. Other*2.3% Hydro16% Coal41% Nuclear14.8% Gas20.1% Oil5.8% สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของโลก * Other: Solar, wind, geothermal, waste Source: International Energy Agency (Key World Statistics 2008)

  8. การผลิตพลังงานไฟฟ้า ปี2551 (แบ่งตามประเภทเชื้อเพลิง) รวมพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ 148,197 ล้านหน่วย พลังงานทดแทน1.4% ถ่านหินนำเข้า8.2% น้ำมันเตา1.0% ก๊าซธรรมชาติ 70.0 % ลิกไนต์12.6% พลังน้ำ4.7% ดีเซล 0.2 % สปป. ลาว 1.6% มาเลเซีย 0.3 %

  9. Source - International Energy Agency (IEA)

  10. Source - International Energy Agency (IEA)

  11. ความท้าทายและความเสี่ยงด้านพลังงานของไทยความท้าทายและความเสี่ยงด้านพลังงานของไทย • ความต้องการพลังงานของประเทศยังคงขยายตัวในระดับสูงตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจ • ประสิทธิภาพในการใช้พลังงานยังอยู่ในระดับต่ำเพราะนโยบายตรึงราคาพลังงาน • ปริมาณสำรองก๊าซธรรมชาติในประเทศจะหมดไปในอีก10 - 20ปีข้างหน้า • พึ่งพิงการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงชนิดเดียวในการผลิตไฟฟ้าในสัดส่วนที่มีความเสี่ยงระดับสูงมาก • ต้องนำเข้าพลังงานที่มีราคาแพงเพื่อมาทดแทนก๊าซธรรมชาติที่กำลังจะหมดไป (LPG/LNG) • ต้องพึ่งพาประเทศเพื่อนบ้านในเรื่องความมั่นคงด้านพลังงาน

  12. แนวทางปฏิรูปเพื่อความยั่งยืน • ลดการพึ่งพาพลังงานฟอสซิลจากภายนอก - พัฒนาแหล่งพลังงานภายในประเทศ/พื้นที่ทับซ้อนทางทะเล - ส่งเสริมและพัฒนาการใช้พลังงานทดแทนอย่างเป็นระบบ - ทุ่มเทในการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนโดยกำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ - ก้าวไปสู่ Decarbonized Future - ดำเนินนโยบายเชิงรุกในการประหยัดพลังงานและเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน - การประหยัดพลังงานภาคบังตับ เช่น Restricted Zone,Green Building

  13. แนวทางปฏิรูปเพื่อความยั่งยืน (ต่อ) • สร้างความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้า - ลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้า - หันมาพิจารณาเชื้อเพลิงทางเลือกอย่างอื่นเพิ่มมากขึ้น เช่น ถ่านหินและนิวเคลียร์ - ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟ้า (Green Power) อย่างจริงจัง - กระจายการผลิตไฟฟ้าออกไปยังแหล่งชุมชนทั่วประเทศในรูปของการผลิตไฟฟ้าเพื่อชุมชน (VS-IPP) • ปรับโครงสร้างราคาพลังงานให้สอดคล้องกัน สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง ลดการอุดหนุน - เพื่อให้เกิดการประหยัดพลังงานและลดการใช้พลังงานอย่างจริงจัง (DSM)

  14. Source - International Energy Agency (IEA)

  15. แผน15ปีพลังงานทดแทน (2551-2565) • ครม.ให้ความเห็นชอบ – 28 ม.ค. 2552 • เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทน - จาก 6.8% เป็น 20% ภายในปี 2565 • สนับสนุนการลงทุนในอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน - กลุ่มเชื้อเพลิงชีวภาพ: ไบโอดีเซล เอทานอล และ NGV - กลุ่มพลังงานชีวภาพ: ก๊าซชีวภาพ ชีวมวล และพลังงานขยะ - กลุ่มพลังงานธรรมชาติ: พลังงานลม แสงอาทิตย์ และไฟฟ้าพลังน้ำ • ลดการนำเข้าพลังงานได้มากกว่า 460,000 ล้านบาท - เกิดการลงทุนในภาคเอกชนมากกว่า 382,000 ล้านบาท - มีโอกาสในการขายคาร์บอนเครดิตได้มากกว่า 14,000 ล้านบาท

  16. โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน (Green Power) • ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน โดยปรับส่วนเพิ่มราคารับซื้อ (adder) ให้สูงขึ้น ตั้งแต่หน่วยละ 0.30-8.00 บาท - ชีวภาพ (BIO-GAS) 176 MW - ชีวมวล (BIO-MASS) 3,032 MW - แหล่งน้ำขนาดเล็ก 281 MW - พลังแสงอาทิตย์ 1,072 MW - พลังลม 1,321 MW - ขยะ 183 MW - เป้าหมาย 5,242 MW • ส่งเสริมให้ผู้ใช้ไฟจ่ายแพงขึ้นโดยสมัครใจ

  17. นโยบายพลังงานสาธารณะ • นโยบายที่ดีต้องตอบโจทย์ด้านพลังงานของประเทศในระยะยาว - ความมั่นคงด้านพลังงาน/ความพอเพียง/การพึ่งพาตนเอง • เหมาะสมกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศ - ไม่ฟุ่มเฟือย/ไม่ใช้จ่ายเกินตัว/ไม่สร้างภาระให้คนรุ่นหลัง • ใช้ทรัพยากรธรรมชาติมีค่าซึ่งมีอยู่อย่างจำกัดและหายากอย่างชาญฉลาด - ไม่ใช้อย่างสี้นเปลืองโดยไม่คำนึงถึงอนุชนรุ่นหลัง • นโยบายต้องเป็นประโยชน์ต่อประชาชนส่วนใหญ่ในระยะยาว - ไม่เสนอแค่ผลประโยชน์เฉพาะหน้าเพื่อแก้ไขปัญหาระยะสั้นเท่านั้น • การบริหารจัดการนโยบายต้องโปร่งใส ตรวจสอบได้ และไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน

  18. บทสรุป • ยุคสมัยแห่งน้ำมันราคาถูกได้หมดไปแล้ว • ยุคแห่งพลังงานหมุนเวียนกำลังเข้ามาแทนที่ - บนสมมติฐานว่าต้องได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐในระยะยาว - เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน • การกำหนดราคาพลังงานที่สมเหตุผลจะช่วยสร้างสมดุลในการใช้พลังงาน - ลดการอุดหนุนเชื้อเพลิงฟอสซิล - มาตรการเดียวที่ได้ผลมากที่สุด - ลดความต้องการด้านพลังงาน - ลดภาวะโลกร้อน

  19. น้ำมันแพง ............. ทางออกของประเทศไทย ? ไม่เป็นไรหรอก!!ให้น้ำเกลือเสร็จ เดี๋ยวก็หายแล้ว ต้องผ่าตัด!!เท่านั้นถึงจะหายขาด 19

More Related