1 / 4

บททักทาย แวดวงการประกันคุณภาพ สาระน่ารู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย เก็บมาฝาก

กิ. น. จก รรมประจำเดือ. ฉบับที่ 6 ประจำเดือนธันวาคม 2544. ธันวาคม 2544. 14 ธ.ค. 44 - ประชุมสำนักงานประกันคุณภาพและข้อมูล 11.00 น. อาคาร 5 ชั้น 4 มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น 14 ธ.ค. 44 - Work shop ISO 9001:2000 (TS1 + TS2) 14.00 น

herne
Download Presentation

บททักทาย แวดวงการประกันคุณภาพ สาระน่ารู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย เก็บมาฝาก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กิ น จกรรมประจำเดือ ฉบับที่ 6 ประจำเดือนธันวาคม 2544 ธันวาคม 2544 14 ธ.ค. 44 - ประชุมสำนักงานประกันคุณภาพและข้อมูล 11.00 น. อาคาร 5 ชั้น 4 มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น 14 ธ.ค. 44 - Work shop ISO 9001:2000 (TS1 + TS2) 14.00 น 21 ธ.ค. 44 - ประชุมคณะกรรมการ (QRC) ณ ห้องศูนย์สารนิเทศชั้น 2 14.30 น. อาคารชิน โสภณพนิช มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น หน้า • บททักทาย • แวดวงการประกันคุณภาพ • สาระน่ารู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย • เก็บมาฝาก • กิจกรรมประจำเดือน 2 สำนักงานประกันคุณภาพและข้อมูล มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น โทร.สายตรง 0-2511-2948 และ 0-2938-7058 - 65 ต่อ 180 www.stjohn.ac.th/qaoffice 3 4 ที่ปรึกษา ดร.สุวิชากร ชินะผา อ.อัญชลี เหลืองอ่อน คณะผู้จัดทำ อ.ธรรมรงค์ สุขชื่น กาญจนา บางนิ่มน้อย สุพรรณี สนศิริ จารุณี มณีล้อมรัตน์ 6 8 8

  2. บ ท ทัก ท าย องค์ประกอบระบบการประกันคุณภาพ ข้อกำหนด ISO 9001:2000 ตามแนวทางของทบวงมหาวิทยาลัย องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน ข้อ 5 ความรับผิดชอบของผู้บริหาร วัตถุประสงค์ แผนงาน 1.1 ปรัชญา ปณิธาน และวัตถุประสงค์ 5.1 ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร สถาบันอุดมศึกษามีการกำหนดปรัชญา ผู้บริหารระดับสูงต้องแสดงความมุ่งมั่น ปณิธานและวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนเพื่อเป็น ที่จะพัฒนาและประยุกต์ใช้ระบบการจัดการ แนวทางในการดำเนินงานของสถาบัน คุณภาพและปรับปรุงประสิทธิภาพของ ระบบอย่างต่อเนื่อง 5.1(b) จัดทำนโยบายคุณภาพ 5.2(c) มั่นใจว่าวัตถุประสงค์คุณภาพได้ ถูกจัดทำขึ้น 5.3 นโยบายคุณภาพ 1.2 แผนงาน 5.4 การวางแผน สถาบันอุดมศึกษามีการวางแผนการศึกษา 5.4.1 วัตถุประสงค์คุณภาพ ให้สอดคล้องกับปณิธาน และวัตถุประสงค์ 5.4.2 การวางแผนระบบการ ของสถาบัน มีการดำเนินงานตามแผน จัดการคุณภาพ เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่กำหนด 7.1 การวางแผนขบวนการสร้างผลิตภัณฑ์ 1.3 การประเมินแผนงานและโครงการ 5.6 การทบทวนของฝ่ายบริหาร สถาบันอุดมศึกษาพึงประเมินแผนงาน 5.6.1 บททั่วไป และโครงการเป็นระยะๆ มีการปรับปรุง 5.6.2 ข้อมูลสำหรับการทบทวน แผนงานและโครงการให้สอดคล้องและ 5.6.3 ผลที่ได้จากการทบทวน ทันต่อความเปลี่ยนแปลง (ต่อฉบับหน้า) เก็บมาฝาก (ต่อ) สวัสดีครับ เพื่อน ๆ ชาวมหาวิทยาลัยเซนต์จอห์นทุกท่านพบกันอีกเช่นเคยเป็นประจำทุกเดือนกับข่าวสารสำนักงานประกันคุณภาพและข้อมูล ฉบับนี้เป็นฉบับที่ 6 แล้ว นะครับที่สำนักงานประกันคุณภาพและข้อมูลได้จัดทำและนำเสนอสาระที่เกี่ยวกับการประกัน-คุณภาพ ซึ่งปัจจุบันเพื่อน ๆ หรือท่านผู้สนใจสามารถติดตามข่าวสารสำนักงานประกันคุณภาพและข้อมูลได้แล้วทาง Internet ที่ www.stjohn.ac.th/qaoffice หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยเซนต์จอห์นแล้วคลิกที่สำนักงานประกันคุณภาพและข้อมูลก็ได้ครับ ซึ่งนอกจาก จะมีสาระให้ติดตามแล้วยังมีกระดานข่าว (Web Board) ไว้บริการให้เพื่อน ๆหรือผู้ที่มีข้อสงสัย และต้องการข้อมูลได้เขียนข้อคำถามด้วย อย่าลืมใช้บริการนะครับพวกเราจะคอยคำถามของคุณ สาระในฉบับนี้ได้เก็บเอาความสอดคล้องมาตรฐาน ISO 9001:2000 กับระบบ-ประกันคุณภาพการศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพของทบวงมหาวิทยาลัยซึ่งต่อจาก ฉบับที่แล้วมาฝากกัน สาระน่ารู้การประกันคุณภาพจะได้นำเสนอถึงความสำคัญของหลักการ PDCA ใน ISO 9001 : 2000 การประกันคุณภาพมีความเคลื่อนไหวมากน้อยอย่างไรติดตาม ได้ในแวดวงการประกันคุณภาพการศึกษา คำศัพท์ชวนรู้ก็น่าสนใจเช่นเคย ติดตามรายละเอียดได้ในเล่มและทางเว็บไซต์นะครับ คณะผู้จัดทำ 2 7

  3. เก็บ ม า ฝ า ก แวดวงการประกันคุณภาพการศึกษา โดย อ.ธรรมรงค์ สุขชื่น ความสอดคล้องมาตรฐาน ISO 9001:2000 กับ ระบบประกันคุณภาพ การศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพของทบวงมหาวิทยาลัย (ต่อจากฉบับที่แล้ว) เมื่อพิจารณารายละเอียดของมาตรฐาน ISO 9001:2000 และระบบการประกัน - คุณภาพการศึกษาตามแนวทางของทบวงมหาวิทยาลัย มีรายละเอียดที่สอดคล้องกัน อย่างเด่นชัด และเพื่อความสะดวกในการพิจารณาซึ่งนำเสนอความสอดคล้อง ดังตารางต่อไปนี้ ตาราง : ความสอดคล้องของมาตรฐาน ISO 9001:2000 กับระบบ การประกันคุณภาพการศึกษา ตามแนวทางของทบวงมหาวิทยาลัย องค์ประกอบระบบการประกันคุณภาพ ข้อกำหนด ISO 9001 : 2000 ตามแนวทางของทบวงมหาวิทยาลัย องค์ประกอบที่ 9ข้อ 4 ระบบการจัดการคุณภาพ ระบบกลไกการประกันคุณภาพ สถาบันอุดมศึกษาพึงพัฒนาระบบ 4.1 ข้อกำหนดทั่วไป และกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา องค์กรต้องจัดตั้ง จัดทำเป็นนำไป ขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของ ปฏิบัติและคงไว้ซึ่งระบบการจัดการ สถาบัน คุณภาพและปรับปรุงประสิทธิผลของ 9.1 การประกันคุณภาพภายใน ระบบอย่างต่อเนื่องโดยองค์กรต้อง สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาระบบ a) กำหนดกระบวนการที่จำเป็น สำหรับ และกลไกในการประกันคุณภาพภายใน การจัดการคุณภาพ ซึ่งประกอบด้วยระบบควบคุมคุณภาพ b) กำหนดเกณฑ์และวิธีที่จำเป็น เพื่อให้ การตรวจสอบคุณภาพและการประเมิน- มั่นใจว่าทั้งการดำเนินงานและการควบคุม คุณภาพ กระบวนการเหล่านี้มีประสิทธิภาพ 9.2 การประกันคุณภาพภายนอก c) เฝ้าติดตามวัด วิเคราะห์ กระบวนการ สถาบันการศึกษาจัดระบบประกัน- ข้อ 8 การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุง คุณภาพที่เอื้ออำนวยต่อการตรวจสอบ 8.2.2 การตรวจติดตามคุณภาพภายใน และประเมินคุณภาพโดยหน่วยงาน องค์กรจะต้องดำเนินการตรวจติดตาม ภายนอก คุณภาพภายในตามระยะเวลาที่วางแผนไว้ 8.2.3 การวัดและเฝ้าติดตาม กระบวนการ สมศ.ยังไม่สรุปวิธีประเมินมหาวิทยาลัย ศ.ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ผอ.สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (สมศ.) เปิดเผยผลการประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 12 พ.ย. ว่า ที่ประชุมได้พิจารณามาตรฐานและวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกสำหรับการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งระดับปริญญาและต่ำกว่าปริญญา โดย สมศ.ได้สอบถามความคิดเห็นไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับกรณีที่ สมศ. ได้กำหนดภารกิจไว้ 4 ด้าน คือ ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม และด้านการทำนุบำรุงศิลป- วัฒนธรรม และมีตัวบ่งชี้ 21 ตัวบ่งชี้ “จากเดิมที่มีเสียงวิจารณ์เข้ามาว่า สมศ. กำหนดดัชนี้ชี้วัด มากเกินไปนั้น เมื่อนำมาวิเคราะห์แล้วแทนที่ต้องการให้ลด แต่กลับกลายเป็นให้เพิ่มขึ้น ดังนั้นความเห็นที่ออกมาก่อนหน้านี้จึงน่าจะเป็นมุมมองเฉพาะบุคคล เพราะเมื่อเป็นการตอบและ เสนอแนะที่เป็นเอกสารจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เป็นความเห็นของคณะกรรมการแล้ว กลายเป็นเห็นด้วยกับ สมศ. และแถมให้เพิ่มดัชนีบางตัวเข้าไปอีก” ศ.ดร.สมหวัง กล่าวและว่าอย่างไรก็ตามตนเห็นว่าควรจะลดดัชนีชี้วัดลงให้เหลือประมาณ 12-13 ตัว จากเดิมกำหนดไว้ 21 ตัว เพราะ บางตัวก็สามารถนำข้อมูลจากการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษามาใช้ได้ทันที โดยไม่ต้องหาข้อมูลใหม่ เช่น ข้อมูลการมีงานทำของนักศึกษา ซึ่งทุกสถาบันก็มีการจัดเก็บข้อมูลไว้อยู่แล้ว ทั้งนี้ที่ประชุมจะหารือเรื่องดังกล่าวอีกครั้งในวันที่ 23 พ.ย. และในวันดังกล่าวจะมีการหารือถึงผู้ที่ จะมาทำหน้าที่ประเมินภายในระดับอุดมศึกษาด้วย จาก หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 13 พฤศจิกายน 2544 คำศัพท์ชวนรู้ Process (กระบวนการ) หมายถึง กิจกรรมที่ต้องใช้ทรัพยากรและได้รับการจัดการ เพื่อให้ สามารถแปลงสิ่งที่ป้อนเข้าไป (inputs) ให้เป็นผลิตผล (outputs) Process approach (การใช้กระบวนการเป็นแนวทาง) หมายถึง การประยุกต์ใช้ระบบของ กระบวนการภายในองค์กรพร้อมไปกับการบ่งชี้และความสัมพันธ์รวมถึงการจัดการของ กระบวนการเหล่านั้น Audit หมายถึง การตรวจสอบคุณภาพซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ การตรวจสอบคุณภาพภายใน (Internal Audit) กับการตรวจสอบคุณภาพภายนอก (External Audit) Auditor หมายถึง ผู้ตรวจสอบคุณภาพซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ ผู้ตรวจสอบคุณภาพภายใน (Internal Auditor) กับผู้ตรวจสอบคุณภาพภายนอก (External Auditor) Auditeeหมายถึง ผู้ถูกตรวจสอบ หรือผู้รับการตรวจสอบ 3 6

  4. าระน่ารู้การประกันคุณภาพ ภาพแสดงหลักการ PDCA สู่การเป็นมาตรฐาน ความสำคัญของหลักการ PDCD ใน ISO 9001 : 2000 P D P C D P …………. A C D A C A การดำเนินการในแต่ละรอบของกระบวนการจะทำให้เกิดมาตรฐานการดำเนินงานขึ้นมาจุดหนึ่ง ซึ่งอาจจะสูงกว่าหรือต่ำกว่า KPI ที่กำหนดไว้ก็ได้ และจุดมุ่งหมายที่สำคัญของการใช้ KPI ไม่ได้อยู่ที่การผ่านตามเกณฑ์ หรือตกเกณฑ์ แต่อยู่ที่องค์กรจะได้รับรู้ ขีดความสามารถของตนเอง เพื่อการดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลเป็นไปตาม P (Plan) ที่กำหนด และมีการปรับปรุงมาตรฐานหรือเกณฑ์ตาม KPI นั้น ๆ ให้สูงขึ้นต่อไปอันเป็นการแสดงถึงการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง PDCA จึงมีส่วนสำคัญทั้งในกระบวนการดำเนินงานและการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ซึ่งถือได้ว่าเป็นประเด็นที่สำคัญที่มาตรฐาน ISO 9001 : 2000 มุ่งหวังและปรารถนาที่จะต้องมีในองค์กรที่นำมาตรฐาน ISO 9001 : 2000 ไปประยุกต์ใช้ในระบบบริหารจัดการคุณภาพในองค์กร โดย อ.ธรรมรงค์ สุขชื่น ปัจจุบันองค์กรธุรกิจประเภทต่าง ๆ จำเป็นต้องปรับตัวทั้งในด้านการบริหารและ การจัดการ เพื่อให้สอดคล้องต่อสภาพเศรษฐกิจสังคมและการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนสามารถแข่งขันได้ในเชิงคุณภาพเป็นผลให้องค์กรต้องพยายามนำระบบการบริหารจัดการคุณภาพเข้ามาประยุกต์ใช้ซึ่งระบบหนึ่งที่กำลังได้รับความนิยมอย่างมาก ในปัจจุบันคือ มาตรฐาน ISO 9001:2000 สาระที่สำคัญส่วนหนึ่งของมาตรฐาน ISO 9001 : 2000 คือการให้ความสำคัญต่อ ลูกค้าโดยเน้นกระบวนการ (process) และการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continual Improvement) ขององค์กรโดยสนับสนุนให้มีการใช้กระบวนการเป็นแนวทาง (process approach) ในการพัฒนาและประยุกต์ใช้ระบบการจัดการคุณภาพรวมถึงการปรับปรุง ประสิทธิผลของระบบ เพื่อยกระดับความพึงพอใจของลูกค้า ซึ่งตามรายละเอียดของ ข้อกำหนด ISO 9001 : 2000 กระบวนการจะหมายถึงกิจกรรมที่ต้องใช้ทรัพยากรและได้ รับการจัดการเพื่อให้สามารถแปลงสิ่งที่ป้อนเข้าไป (input) ให้เป็นผลผลิต (output) ดังนั้นในกระบวนการบริหารจัดการคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2000 จะยึดหลักการ PDCA เป็นพื้นฐานที่สำคัญในการดำเนินงานซึ่งจะเริ่มจาก P(Plan) การวางแผนคุณภาพและแผนการดำเนินงานตลอดจนรายละเอียดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายขององค์กร และความต้องการของลูกค้า D (Do) การประยุกต์ใช้หรือปฏิบัติตามกระบวนการต่าง ๆ ที่กำหนด C (Check) การเฝ้าติดตามและการวัดกระบวนการและผลิตภัณฑ์ซึ่งจะเทียบกับนโยบาย เป้าหมาย วัตถุประสงค์ และข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ ตามความต้องการของ องค์กรและลูกค้า ซึ่งปกติจะใช้กำหนดเป็นเกณฑ์และดัชนีอย่างที่เราคุ้นเคยในชื่อ KPI (Key Performance Indicator) เพื่อใช้ในการประเมินประสิทธิภาพการดำเนินงาน และดำเนินการในส่วนของ Act A (Act) การดำเนินการเพื่อการปรับปรุงการดำเนินงานของ กระบวนการ ซึ่งจะดำเนินการเช่นนี้ต่อไปอันเป็นการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ซึ่งแสดงได้ดังภาพ ของความสัมพันธ์ของกระบวนการได้ดังนี้ Standard 1 Standard 2 4 5

More Related