330 likes | 527 Views
สถานการณ์ การเฝ้าระวังป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อและภัยสุขภาพ(บุหรี่ สุรา). โดย นางฐิติมา โกศัล วิตร นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี.
E N D
สถานการณ์การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อและภัยสุขภาพ(บุหรี่ สุรา) โดยนางฐิติมา โกศัลวิตรนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษหัวหน้ากลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่ายสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี
อัตราผู้ป่วยในต่อ 100,000 ประชากรด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด และหลอดเลือดสมองใหญ่ จำแนกตามกลุ่มสาเหตุ รายจังหวัดในเขต 7 ปี พ.ศ.2552 ที่มา รายงานผู้ป่วยในรายโรค(รง.505) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข,2552.
ความชุกของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน(BMI≥25)ในประชากรอายุ 15-74 ปี ในจังหวัดที่สำรวจ พ.ศ.2548 ที่มา ศูนย์ข้อมูลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2548.
ค่าเฉลี่ยเส้นรอบเอวในประชากรอายุ 15-74 ปี ในจังหวัดที่สำรวจ พ.ศ.2548 ที่มา ศูนย์ข้อมูลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2548.
ความชุก(ร้อยละ)ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน(BMI≥25)ในประชากรอายุ 15-74 ปี ใน 38 จังหวัดที่สำรวจ พ.ศ.2550 ที่มา ศูนย์ข้อมูลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2550.
ความชุก(ร้อยละ)ของผู้ที่มีรอบเอวเกิน(≥36 นิ้วในเพศชายและ ≥32 ในเพศหญิง)ในประชากรอายุ 15-74 ปี ใน 38 จังหวัดที่สำรวจ พ.ศ.2550 ที่มา ศูนย์ข้อมูลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2550.
ความชุกของผู้สูบบุหรี่หรือยาสูบในปัจจุบันในประชากรอายุ 15-74 ปี ในจังหวัดที่สำรวจ พ.ศ.2548 ที่มา ศูนย์ข้อมูลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2548.
ความชุกของผู้ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน 12 เดือนที่ผ่านมาในประชากรอายุ 15-74 ปี ในจังหวัดที่สำรวจ พ.ศ.2548 ที่มา ศูนย์ข้อมูลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2548.
ความชุก(ร้อยละ)ของผู้ที่สูบบุหรี่หรือยาสูบในปัจจุบันในประชากรอายุ 15-74 ปี ใน 38 จังหวัดที่สำรวจ พ.ศ.2550 ที่มา ศูนย์ข้อมูลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2550.
ความชุก(ร้อยละ)ของผู้ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในปัจจุบันในประชากรอายุ 15-74 ปี ใน 38 จังหวัดที่สำรวจ พ.ศ.2550 ที่มา ศูนย์ข้อมูลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2550.
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable Disease: NCD) หมายถึงกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุของการนำสู่การเกิดโรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วมหนึ่งปัจจัยหรือหลายปัจจัย ดังนี้ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง !!!
โรคภัยเงียบ : โรควิถีชีวิตฆาตกรเงียบ !!! • การเกิดโรคใช้เวลานาน • ไม่แสดงอาการ • มีสาเหตุจากหลายปัจจัย ซับซ้อน • การแก้ไขก็ใช้เวลานาน • พบในกลุ่มวัยทำงานและสูงอายุมากกว่าเด็ก โรคที่เกิดจากพฤติกรรม ร้อยละ 90อีกร้อยละ 10 เกิดจากพันธุกรรมและสาเหตุอื่น(การทบทวนองค์ความรู้ของ นพ.เทพ หิมะทองคำ และคณะ,2547)
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง -โรคความดันโลหิตสูง-การสูบบุหรี่-โรคเบาหวาน-อ้วน-ไขมันในเลือดสูง-วิถีชีวิตนั่งๆ นอนๆ (ขาดการออกกำลังกาย)-บริโภคอาหารไม่ถูกต้องเหมาะสม(หวาน มัน เค็ม) ผักผลไม้น้อย-บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์-เครียดเรื้อรัง 9 ปัจจัย
สถานการณ์อุบัติเหตุช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2553 เกี่ยวกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ภาพรวมสถิติอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2553 1) เกิดอุบัติเหตุทางถนน 3,516 ครั้ง เปรียบเทียบกับช่วงเทศกาลปี 2552 ซึ่งเกิด 3,977 ครั้ง ลดลง 461 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 11.59 2) มีผู้เสียชีวิต 361 ราย เปรียบเทียบกับช่วงเทศกาลปี 2552 ซึ่งมีผู้เสียชีวิต 373 ราย ลดลง 12 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.22 3) มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 3,802 คน เปรียบเทียบกับช่วงเทศกาลปี 2552 ซึ่งมีผู้ได้รับบาดเจ็บ 4,332 คน ลดลง 530 คน คิดเป็นร้อยละ 12.23
การป้องกัน ไม่เคยตรวจและรับการวินิจฉัย ชายร้อยละ 60 หญิง ร้อยละ 40(จากการสำรวจสุขภาพประชาชน,2550) โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด • ผลลัพธ์สุดท้าย คือ • พิการ(อัมพฤกษ์ อัมพาต) • ตาย ภาคีเครือข่าย/กัลยาณมิตร
การป้องกัน ใช้หลัก 3อ. 2ส. สูบบุหรี่ อาหาร 2ส. 3อ. ออกกำลังกาย ดื่มสุรา อารมณ์
นโยบายแห่งชาติ (เป้าประสงค์) ในการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ • สร้างจิตสำนึกใหม่ ให้เยาวชนของชาติ เพื่อป้องกันการริเริ่มการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในเด็กและเยาวชน (ลดนักดื่ม นักสูบหน้าใหม่) • ลดปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบของคนไทยทั้งชาติ • การคุ้มครองและลดผลกระทบที่เกิดจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ ทั้งในผู้ที่บริโภคแอลกอฮอล์และประชาชนทั่วไป
มาตรการการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบมาตรการการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ • การขึ้นภาษี • การควบคุมการเข้าถึงเยาวชน • การควบคุมพฤติกรรม • การควบคุมการโฆษณา • การบำบัดรักษา • การบังคับใช้กฎหมาย • การรณรงค์ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์
มาตรการการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบมาตรการการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ • พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2535 • พ.ร.บ.คุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535และประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 19 พ.ศ.2553 • พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551
ภาคีเครือข่าย คือ ใคร................... ภาคีเครือข่าย อำเภอเข้มแข็ง
ปี 2554 นโยบายของอธิบดีกรมควบคุมโรค • (นพ.มานิต ธีระตันติกานนท์) ให้เน้นหนัก 4 เรื่อง • การพยากรณ์โรค • อำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • พัฒนาทีม SRRT ตำบล • การพัฒนาศักยภาพบุคลากร
นิยาม “อำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์
กรม คร. มุ่งเน้น “อำเภอ” เป็นพื้นที่เป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ แบบมีส่วนร่วม ให้เกิดประสิทธิผลต่อสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์ ปัจจุบัน อนาคต ....... 1. มีคณะกรรมการ 1. มีคณะกรรมการ 2.มีระบบระบาดฯ 3.มีการวางแผน 2.มีระบบระบาดฯ 5.มีผลงาน 4.มีการระดมทุนฯ 3.มีการวางแผน ....... ....... 4.มีการระดมทุนฯ 5.มีผลงาน ไม่เป็นระบบ??
กลไกที่ 5. มีผลสำเร็จของการควบคุมโรคที่สำคัญหรือโรคที่เป็นปัญหา ประเด็นละ 1 เรื่อง มี 2 ประเด็น ดังนี้ - โรคที่เป็นนโยบาย 1 เรื่อง ( 4 โรค) - โรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ 1 เรื่อง ( 14 โรค)
โรคที่เป็นนโยบาย 4 โรค • 1. วัณโรค • 2. โรคเอดส์ • 3. โรคไข้เลือดออก • 4. โรคไม่ติดต่อ • (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด • หลอดเลือดสมอง )
โรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ 14 โรค • 1. โรคมาลาเรีย • 2. โรคเท้าช้าง • 3. โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน • 4. โรคหนอนพยาธิ • 5. โรคพิษสุนัขบ้า • 6. โรคเลปโตสไปโรซิส • 7. โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน • 8. ไข้หวัดใหญ่ • 9. โรคเรื้อน
โรคที่เป็นปัญหา 14 โรค (ต่อ) • 10. เด็กจมน้ำ • 11. ควบคุมบริโภคยาสูบ • 12. ควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • 13. มลพิษจากสิ่งแวดล้อม • 14. โรคจากการประกอบอาชีพ
เมื่อเริ่มต้นก้าวแรก เป็นก้าวที่ต้องการผู้ช่วยเหลือ.....
ก้าวต่อไป เป็นก้าวที่ต้องการ เพื่อนคู่หูและเครือข่าย....
อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ เป็นทีมเครือข่าย เป็นอีกกลวิธีหนึ่ง ที่จะก่อให้เกิดความสำเร็จ............