480 likes | 702 Views
“กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ : แนวคิด นโยบาย และแนวปฏิบัติ”. โดย ดร.ณรงค์ฤทธิ์ วราภรณ์ คณะกรรมการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วันที่ 1 1 สิงหาคม 255 3. เอกสารโดยคณะทำงานหลักสูตรนำร่อง มคอ.
E N D
“กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ: แนวคิด นโยบาย และแนวปฏิบัติ” โดย ดร.ณรงค์ฤทธิ์ วราภรณ์ คณะกรรมการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วันที่ 11สิงหาคม 2553 เอกสารโดยคณะทำงานหลักสูตรนำร่อง มคอ.
กรอบมาตรคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.) บัณฑิตมีคุณภาพ พัฒนาชาติยั่งยืน
TQF มีไว้ทำไม • สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรให้กับ ผู้จ้างงาน โรงเรียน ผู้ปกครอง นักเรียน ฯลฯ • สร้างความมีมาตรฐานและการเทียบเคียงกันระหว่างหลักสูตร ทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศ เป็นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน และเอื้ออำนวยต่อการเทียบโอนของนักศึกษาและการหางานทำของบัณฑิต • เป็นแหล่งอ้างอิงสำหรับสถาบันการศึกษา ในการกำหนดมาตรฐานและการประเมินผลสัมฤทธิ์
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ(Thai Qualifications Framework for Higher Education ; TQF : HEd) หมายถึงกรอบที่แสดงระบบคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษา ของประเทศ ซึ่งประกอบด้วย ระดับคุณวุฒิ การแบ่งสายวิชา ความเชื่อมโยงต่อเนื่องจากคุณวุฒิระดับหนึ่งไปสู่ระดับที่สูงขึ้น มาตรฐานผลการเรียนรู้ของแต่ละระดับคุณวุฒิซึ่งเพิ่มสูงขึ้นตามระดับของคุณวุฒิ ลักษณะของหลักสูตรในแต่ละระดับคุณวุฒิ ปริมาณการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเวลาที่ต้องใช้ การเปิดโอกาสให้เทียบโอนผลการเรียนรู้จากประสบการณ์ ซึ่งเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งระบบและกลไกที่ให้ความมั่นใจในประสิทธิผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของสถาบันอุดมศึกษาว่าสามารถผลิตบัณฑิตให้บรรลุคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้
บัณฑิตมีคุณภาพ พัฒนาชาติยั่งยืน มคอ. บอกให้รู้ว่าเรียนแล้วได้อะไร • ด้านคุณธรรม จริยธรรม • ด้านความรู้ • ด้านทักษะทางปัญญา • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มคอ. บอกให้รู้ว่าเรียนแล้วได้อะไร ระดับที่๔ ปริญญาโท • ด้านคุณธรรม จริยธรรม สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมที่ซับซ้อนเชิงวิชาการหรือวิชาชีพ โดยคำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น และเมื่อไม่มีข้อมูลทางจรรยาบรรณวิชาชีพหรือไม่มีระเบียบข้อบังคับ เพียงพอที่จะจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้น ก็สามารถวินิจฉัยอย่างผู้รู้ด้วยความยุติธรรมและชัดเจน มีหลักฐาน และตอบสนองปัญหาเหล่านั้นตามหลักการ เหตุผล และค่านิยมอันดีงาม ให้ข้อสรุปของปัญหาด้วยความไวต่อความรู้สึกของผู้ที่ได้รับผลกระทบ ริเริ่มในการยกปัญหาทางจรรยาบรรณที่มีอยู่เพื่อการทบทวนและแก้ไข สนับสนุนอย่างจริงจังให้ผู้อื่นใช้การวินิจฉัยทางด้านคุณธรรม จริยธรรมในการจัดการกับข้อโต้แย้งและปัญหาที่มีผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น แสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรม ในสภาพแวดล้อมของการทำงานและในชุมชนที่กว้างขวางขึ้น
(๒) ด้านความรู้ (๒) ด้านความรู้ มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชา ตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่สำคัญและนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติ ในวิชาชีพ มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพนั้นอย่างลึกซึ้งในวิชาหรือกลุ่มวิชาเฉพาะในระดับแนวหน้า มีความเข้าใจในวิธีการพัฒนาความรู้ใหม่ๆและการประยุกต์ ตลอดถึงผลกระทบของผลงานวิจัยในปัจจุบันที่มีต่อองค์ความรู้ในสาขาวิชาและต่อการปฏิบัติในวิชาชีพ ตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อสาขาวิชาชีพ รวมทั้งเหตุผล และการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
( ๓ ) ด้านทักษะทางปัญญา (๓) ด้านทักษะทางปัญญา ใช้ความรู้ทางภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในการจัดการบริบทใหม่ที่ไม่คาดคิดทางวิชาการและวิชาชีพ และพัฒนาแนวคิดริเริ่มและสร้างสรรค์เพื่อตอบสนองประเด็นหรือปัญหา สามารถใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจในสถานการณ์ที่มีข้อมูลไม่เพียงพอ สามารถสังเคราะห์และใช้ผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ หรือรายงานทางวิชาชีพ และพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยการบูรณาการให้เข้ากับองค์ความรู้เดิมหรือเสนอเป็นความรู้ใหม่ที่ท้าทายสามารถใช้เทคนิคทั่วไปหรือเฉพาะทาง ในการวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์ รวมถึงพัฒนาข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพสามารถวางแผนและดำเนินการโครงการสำคัญหรือโครงการวิจัยค้นคว้าทางวิชาการได้ด้วยตนเอง โดยการใช้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัย และให้ข้อสรุปที่สมบูรณ์ซึ่งขยายองค์ความรู้หรือแนวทางการปฏิบัติในวิชาชีพที่มีอยู่เดิมได้อย่างมีนัยสำคัญ
(๔) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (๔) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ สามารถแก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อน หรือความยุ่งยากระดับสูงทางวิชาชีพได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเองและสามารถประเมินตนเองได้ รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้ มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นอย่างเต็มที่ในการจัดการข้อโต้แย้งและปัญหาต่าง ๆ แสดงออกทักษะการเป็นผู้นำได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงานของกลุ่ม
(๕) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (๕) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อนำมาใช้ในการศึกษาค้นคว้าปัญหาสรุปปัญหาและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ ทั้งในวงการวิชาการและวิชาชีพ รวมถึงชุมชนทั่วไป โดยการนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ
หลักการสำคัญของ TQF 1. เป็นเครื่องมือในการนำแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การจัดการศึกษาตามที่กำหนดใน พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติฯ ในส่วนที่เกี่ยวกับมาตรฐานการอุดมศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาสู่การปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม 2. มุ่งเน้นที่ Learning Outcomesซึ่งเป็นมาตรฐานขั้นต่ำเชิงคุณภาพเพื่อ ประกันคุณภาพบัณฑิต 3. มุ่งประมวลกฎเกณฑ์และประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องหลักสูตรและ การจัดการเรียนการสอนเข้าไว้ด้วยกันและเชื่อมโยงให้เป็นเรื่องเดียวกัน 4. เป็นเครื่องมือการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในการสร้างความเข้าใจและ ความมั่นใจในกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้อง/มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น นักศึกษา ผู้ปกครอง ผู้ประกอบการ ชุมชน สังคมและสถาบันอื่นๆ ทั้งในและต่างประเทศเกี่ยวกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่คาดว่าจะพึงมี
หลักการสำคัญของ TQF (ต่อ) 5. มุ่งให้คุณวุฒิหรือปริญญาของสถาบันใดๆของประเทศไทย เป็นที่ยอมรับและเทียบเคียงกันได้กับสถาบันอุดมศึกษาที่ดีทั้งใน และต่างประเทศ โดยเปิดโอกาสให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัด หลักสูตรตลอดจนกระบวนการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลาย โดยมั่นใจถึงคุณภาพของบัณฑิตซึ่งจะมีมาตรฐานผลการเรียนรู้ ตามที่มุ่งหวัง สามารถประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุขและภาคภูมิใจ เป็นที่พึงพอใจของนายจ้าง 6. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
วัตถุประสงค์ของการดำเนินการ TQF 1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมคุณภาพในการจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา และเป็นการประกันคุณภาพขั้นต่ำของบัณฑิตในแต่ละสาขา/สาขาวิชาของคุณวุฒิในระดับต่างๆ 2. เพื่อให้แต่ละสาขา/สาขาวิชามีการกำกับดูแลคุณภาพการผลิตบัณฑิตกันเองโดยบัณฑิตในสาขา/สาขาวิชาเดียวกันของแต่ละสถาบันฯมีคุณภาพไม่ต่ำกว่าที่กำหนดไว้ในมาตรฐานคุณวุฒิระดับการศึกษาของสาขา/สาขาวิชานั้นๆ 3. เพื่อนำไปสู่การลดขั้นตอน/ระเบียบ (deregulations) ในการดำเนินการให้กับสถาบันอุดมศึกษาที่มีความเข้มแข็งและความพร้อมในการจัดการศึกษา
ระดับนโยบาย ระดับการนำไปสู่การปฏิบัติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานด้านการบริหาร จัดการการอุดมศึกษา มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้ และสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF) มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาที่ 1 มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/ สาขาวิชาที่ 2 สกอ. มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/ สาขาวิชาที่ 3 รายละเอียดของหลักสูตร(Programme Specification) แต่ละสาขาวิชาของสถาบันฯต่างๆ ม/ส
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ) ใช้ทุกระดับ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ) ผลการเรียนรู้ มาตรฐาน
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ)
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษาเรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ) 32
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษาเรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ) 33
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษาเรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ) 34
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษาเรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ) 35
มคอ. มีอะไรบ้าง มคอ. ๑ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา... สาขา/สาขาวิชา............ มคอ. ๒ รายละเอียดของหลักสูตร มคอ. ๓ รายละเอียดของรายวิชา มคอ. ๔ รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม มคอ. ๕ รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา มคอ. ๖ รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ ภาคสนาม มคอ. ๗ รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร
มีมาตรฐาน แต่ยังแต่งต่าง โดดเด่น ไม่ใช่เหมือนกันหมด • ยังมีความหลากหลายของหลักสูตร • บริหารจัดการตนเอง • ปกป้องชื่อเสียงของ สถาบันฯ หลักสูตร • นำไปสู่การขึ้นทะเบียนหลักสูตรที่ได้มาตรฐาน การเทียบเคียงข้ามประเทศ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ การนำกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา ด้านการบริหารการจัดการ การอุดมศึกษา ด้านการสร้างและพัฒนาฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ ด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานคุณวุฒิระดับ....สาขา/สาขาวิชา......
ไม่ ติดตาม การดำเนินการ ตาม TQF ใช่ 1 ใช่ เผยแพร่หลักสูตรที่ดำเนินการได้มาตรฐาน TQF 1 กก.อ.กำหนดหลักเกณฑ์การปรับปรุง ประกาศ ศธ. เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ .พ.ศ. 2552 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ประกาศ กกอ. เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 มคอ.1 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิสาขา เกณฑ์กำหนดชื่อปริญญา สกอ. 5 ปี หลักเกณฑ์การเทียบโอน เกณฑ์/แนวทางอื่น ๆ มหาวิทยาลัย สภาสถาบันอนุมัติ เสนอ วางแผนปรับปรุง + พัฒนา 2 1 ปี รายละเอียดของหลักสูตร เสนอ 7 รายละเอียดของรายวิชาและภาคสนาม/ฝึกงาน สกอ. รับทราบ หลักสูตรและ บันทึกไว้ในฐาน ข้อมูล 3-4 รายงานประจำภาค /ประจำปีการศึกษา กระบวนการเรียนการสอน รายงานรายวิชา 5-6 การวัดและประเมินผล (POD Network) Teaching Unit การจัดสิ่งอำนวยความสะดวก สภาพแวดล้อม นักศึกษา/บัณฑิตได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่กำหนดไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (บัณฑิตมีคุณภาพเป็นที่พึงพอใจของผู้จ้างงานและสังคม)
แนวทางสู่ การปฏิบัติ บัณฑิตมีคุณภาพ พัฒนาชาติยั่งยืน
มาตรฐานการอุดมศึกษา ระดับนโยบย ระดับการนำไปสู่การปฏิบัติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานการบริหาร จัดการการอุดมศึกษา มาตรฐานการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้ และสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานคุณภาพบัณฑิต กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) มาตรฐานสาขาวิชาที่ 1 มาตรฐาน สาขาวิชาที่ 2 มาตรฐาน สาขาวิชาที่ 3 มคอ. 2, 3, 4, 5, 6, 7
การถ่ายทอดผลการเรียนรู้ จากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯสู่หลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯแห่งชาติ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา หลักสูตร
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร กลุ่มเนื้อหาสาระสำคัญ ผลการเรียนรู้ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร แบบเดิม วัตถุประสงค์ของหลักสูตร กลุ่มเนื้อหาสาระสำคัญ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) ผลการเรียนรู้ ต้องวัดได้ และครอบคลุมถึง คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (ทักษะทางสังคม) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ++ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Skill)
ผลการเรียนรู้ของแต่ละหลักสูตร มาจากไหน? สถานการณ์ภายนอก (เศรษฐกิจ/สังคม) ปรัชญา ปณิธาน ของมหาวิทยาลัย ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ ของหลักสูตร ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ(ถ้ายังไม่มีมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา) มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา รวมถึง มาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี) ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตในสาขาวิชา
การบรรลุผลการเรียนรู้ของบัณฑิตการบรรลุผลการเรียนรู้ของบัณฑิต การดำเนินการหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา ปัจจัยนำเข้า (input) –นักศึกษา ทรัพยากร (resource) อาจารย์ / บุคลากรสนับสนุน ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน กระบวนการเรียนการสอน/การประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา การบริหารจัดการ และกำกับดูแล การวางแผน ติดตาม ทวนสอบ ประเมิน แก้ไข
การวางแผนหลักสูตร กำหนดผลการเรียนรู้ ทั้ง 5 ด้าน (อย่างน้อย) กำหนดโครงสร้างหลักสูตร และรายวิชา กระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้สู่รายวิชา กำหนดกลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ สำหรับการเรียนรู้แต่ละด้าน กำหนดการติดตาม ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ประเมินผลการดำเนินการในระดับรายวิชา/หลักสูตร การบริหารจัดการ/การประกันคุณภาพ/การประเมิน กำหนดการทบทวนผลการดำเนินการและแก้ไขปรับปรุง
คุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ทักษะทางปัญญา คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม (ตย.) 3. Curriculum Mapping
เอกสารที่ต้องจัดทำหลังการวางแผนหลักสูตรเอกสารที่ต้องจัดทำหลังการวางแผนหลักสูตร รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)โดยกรรมการจัดทำหลักสูตร รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) และ รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) โดย อ.ผู้สอน รายงานรายวิชา (มคอ.5) และ รายงานประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.6) โดย อ.ผู้สอน รายงานการดำเนินการหลักสูตร (มคอ.7) โดย คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
บทสรุป รายละเอียดหลักสูตร เป็นส่วนหนึ่งของกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านมาตรฐานคุณภาพบัณฑิต ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของชาติและมาตรฐานคุณวุฒิของสาขาวิชา(ถ้ามี) เป็นแผนการดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ที่คณาจารย์ทุกคนมีส่วนร่วม เป็นคำมั่นสัญญาที่สถาบันอุดมศึกษาให้กับสังคม
Q&A ขอขอบคุณ narongrit@sit.kmutt.ac.th