120 likes | 129 Views
This research project aims to increase the market potential and market expansion of colored rice, addressing challenges such as consumer awareness, market trends, pricing strategies, and consumer behavior. It focuses on gathering data related to cultivation, production, and marketing of colored rice for domestic and export markets. The project seeks urgent answers to key questions faced by rice producers and consumers to ensure sustainable market growth.
E N D
“ร่วมด้วยช่วยกัน เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ข้าวเฉดสีอย่างยั่งยืน” ภายใต้โครงงานวิจัย การเพิ่มศักยภาพทางการตลาด และการขยายตลาดของข้าวเฉดสี
คณะวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.วัสสนัย วรรธนัจฉริยา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร. เริงชัย ตันสุชาติ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ ดร. เรนัส เสริมบุญสร้าง ภาควิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. อารี วิบูลย์พงศ์ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร. ชนากานต์ เทโบลต์ พรมอุทัย ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความสำคัญและที่มา กลุ่มข้าวเหนียวสีดำ กลุ่มข้าวเจ้าสีแดง กลุ่มข้าวเจ้าสีดำ ข้าวเหนียวดำ
ปัญหาวิจัย • ขาดการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเพาะปลูก-การผลิต และ การตลาดข้าวสี เพื่อการจำหน่ายภายในประเทศ และ การส่งออก อย่างเป็นระบบมาก่อน • ผู้บริโภคไม่เข้าใจประโยชน์หรือคุณค่าทางโภชนาการของข้าวเฉดสีอย่างแท้จริง • ผู้บริโภคไม่รู้ว่าควรเลือกซื้อข้าวเฉดสีใด และมีเกณฑ์การตัดสินใจสำหรับการเลือกซื้อได้อย่างไร • ผู้ผลิต(เกษตรกร) เลือกปลูกข้าวเฉดสีตามกระแส ซึ่งอาจจะส่งผลต่อการเกิด Over supply ซึ่งจะทำให้สินค้ามีราคาตก และ หาตลาดยาก • ตลาดข้าวเฉดสีจะเติบโตอย่างยั่งยืน หรือแค่ตามกระแสคนรักสุขภาพ
โจทย์คำถามการวิจัย • ความต้องการของการตลาดและแนวโน้มของผู้บริโภคภายในประเทศที่มีต่อข้าวเฉดสีเป็นอย่างไร รวมถึงแนวโน้มการส่งออก • พฤติกรรมและทัศนคติของผู้บริโภคในการเลือกซื้อข้าวเฉดสีในปัจจุบันเป็นอย่างไร • การกำหนดราคา และความสัมพันธ์ระหว่างราคาและคุณลักษณะของข้าวเฉดสีเป็นอย่างไร • ศักยภาพในการตลาดข้าวเฉดสีสำหรับการบริโภคเป็นอย่างไร • ตลาดข้าวเฉดสีแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างไร • ทำอย่างไรให้ตลาดข้าวเฉดสีเติบโตได้มากขึ้น หรือมีความยั่งยืน ซึ่งคำถามเหล่านี้เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบเร่งด่วนสำหรับเกษตรกรผู้ผลิตข้าวเฉดสีที่ต้องการขยายการผลิตข้าวเฉดสี และสำหรับผู้ประกอบการหรือวิสาหกิจชุมชนเสริมศักยภาพและขยายช่องทางการตลาดของข้าวเฉดสี รวมถึงนโยบายของภาครัฐในภาพรวมที่มีต่อการส่งเสริมหรือผลักดันด้านการตลาดของข้าวเฉดสี
วัตถุประสงค์/วิธีวิจัยวัตถุประสงค์/วิธีวิจัย Focus Group Depth Interview Snowball Questionnaire • เพื่อศึกษาสถานการณ์ความต้องทางการตลาดทั้งภายในประเทศและต่างประเทศของข้าวเฉดสีของไทย • เพื่อศึกษาพฤติกรรมและทัศนคติการบริโภคข้าวเฉดสีของผู้บริโภคข้าวเฉดสี • เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างราคาและคุณลักษณะของข้าวเฉดสี • เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการตลาดข้าวเฉดสี 5) เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อนำไปสู่การจัดทำกลยุทธ์การตลาด และนโยบายสำหรับภาครัฐที่มีต่อข้าวเฉดสี SWOT 5 Force Logit model STP 4P
ผู้เพาะปลูก ชุมชนเป็น…
ผู้แบ่งปัน ชุมชนเป็น…
ผู้จัดการ ชุมชนเป็น…
ผู้ผลิต ชุมชนเป็น…
ผู้จำหน่าย ชุมชนเป็น…
ผู้ให้ และ ผู้รับ ชุมชนเป็น…