290 likes | 793 Views
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต. แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับต้นทุน. ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity cost ) สิ่งที่มีมูลค่าสูงสุดที่ต้องเสียไป หรือผลประโยชน์สูงสุดที่ผู้ผลิตไม่ได้รับจากการเลือกใช้ทรัพยากรการผลิตไปในทางอื่น
E N D
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับต้นทุนแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับต้นทุน • ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity cost) สิ่งที่มีมูลค่าสูงสุดที่ต้องเสียไป หรือผลประโยชน์สูงสุดที่ผู้ผลิตไม่ได้รับจากการเลือกใช้ทรัพยากรการผลิตไปในทางอื่น • ต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Explicit Cost and Implicit Cost) ต้นทุนชัดแจ้ง(Explicit cost) : ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงและมีการจ่ายออกไปเป็นตัวเงินจริงๆ
ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Implicit Cost) : ต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการผลิตจริงๆ แต่ไม่มีการจ่ายออกไปเป็นตัวเงิน เกิดจากการนำปัจจัยการผลิตที่ตนเองเป็นเจ้าของมาใช้ในการผลิต ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และต้นทุนทางบัญชี (Economics Cost and Accounting Cost) • ต้นทุนทางเศรษฐกิจ (Economics Cost) : ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินค้านั้น ไม่ว่าจะมีการจ่ายไปจริงหรือไม่ก็ตาม~ (Explicit Cost + Implicit Cost) • ต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost) : ต้นทุนในการผลิตสินค้าที่ผู้ผลิตได้มีการจ่ายจริงและได้ลงบันทึกรายการทางบัญชีไว้~ (Explicit Cost)
ต้นทุนทางเอกชนและต้นทุนทางสังคม (Private Cost and Social Cost) • ต้นทุนเอกชน (private Cost) : ต้นทุนการผลิตที่เจ้าของหน่วยผลิตจะต้องจ่ายโดยตรง ดังนั้น ต้นทุนเอกชนจะเท่ากับต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ • ต้นทุนสังคม (Social Cost) : ในการผลิตสินค้าและบริการ อาจมีต้นทุนจากการผลิตบางส่วนเกิดขึ้นกับสังคม เป็นผลให้ต้นทุนสังคมไม่เท่ากับต้นทุนเอกชน ต้นทุนที่ตกแก่บุคคลอื่นในสังคมเรียกว่า ผลกระทบภายนอก (Externalities) Social Cost = Private Cost + Externalities
การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตในระยะสั้นการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตในระยะสั้น • ระยะสั้น คือ ระยะของเวลาการผลิตที่อย่างน้อยจะต้องมีปัจจัยคงที่ อย่างน้อยหนึ่งตัว ทำงานร่วมกับปัจจัยแปรผัน • ต้นทุนการผลิตระยะสั้น จะประกอบด้วยต้นทุนคงที่ และต้นทุนแปรผัน • ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost : FC) : ต้นทุนในการจัดหาปัจจัยคงที่เพื่อการผลิต เช่น ค่าก่อสร้าง , ค่าที่ดิน , ค่าเครื่องจักร เป็นต้น • ต้นทุนแปรผัน (Variable Cost : VC) : ต้นทุนในการจัดหาปัจจัยแปรผัน เช่นค่าจ้างแรงงาน , ค่าวัตถุดิบ เป็นต้น
ต้นทุนทั้งหมดในระยะสั้น (Total Cost : TC) คือ ผลรวมของต้นทุนคงที่และต้นทุนแปรผัน TC = FC + VC • ต้นทุนเพิ่ม (Marginal Cost : MC) คือ ต้นทุนการผลิตที่เปลี่ยนแปลงจากการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย MCn = TCn – TC n-1 MC = TC / Q ในระยะสั้น MC = VC / Q เพราะ FC จะคงที่ • ต้นทุนเฉลี่ย (Average Cost : AC) คือ ต้นทุนการผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า
ต้นทุนเฉลี่ย จะเท่ากับ ผลรวมของต้นทุนคงที่เฉลี่ย และต้นทุนแปรผันเฉลี่ย AC =AFC + AVC หรือ AC = TC / Q • ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed Cost : AFC) คือ ต้นทุนคงที่ทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า, AFC decreases when Q increases • ต้นทุนแปรผันเฉลี่ย (Average Variable Cost : AVC) คือ ต้นทุนแปรผันทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า AVC = VC / Q
ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนชนิดต่างๆความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนชนิดต่างๆ จำนวนผลผลิต ต้นทุนคงที่ ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนทั้งหมด Q FC VC TC=FC+VC 0 4 04 1 4 5 9 2 4 8 12 3 4 15 19 4 4 32 36 5 4 65 69
กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง TC , FC , VC
ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนการผลิตชนิดต่างๆความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนการผลิตชนิดต่างๆ
ความสัมพันธ์ระหว่าง AC ,AVC , AFC , MC
ความสัมพันธ์ระหว่าง AC ,AVC , AFC , MC (continued) • Q increases, when AFC decreases • At min. AC, AC = MC • At min. AVC, AVC = MC • Gap bt. AC and AVC = AFC • MC, AC, AVC : U shape • AFC : rectangular
ต้นทุนการผลิตระยะยาว • ระยะยาว คือ ระยะเวลาที่ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้หมด นั่นคือ สามารถเลือกขนาดของโรงงานได้ • ต้นทุนการผลิตระยะยาว (Long Run Total : LTC) จึงมีเฉพาะต้นทุนแปรผันเท่านั้น
LAC = LTC / Q, at point B : LAC=SAC=LMC=SMC : Optimum scale of plant (ขนาดของโรงงานที่เหมาะสมในระยะยาว) • ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยระยะยาว (Long Run Average Cost) คือ ต้นทุนการผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยผลผลิตในระยะยาว
รายรับจากการผลิต (Total Revenue) • รายรับจากการผลิต (Total Revenue : TR) รายได้ที่ผู้ขายได้รับจากการขายสินค้าและบริการในราคาตลาด = P x Q • รายรับเพิ่ม (Marginal Revenue : MR) รายรับทั้งหมดที่เปลี่ยนแปลงจากการที่ผู้ผลิตขายสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย MR = TR / Q MRn = TRn – TR n-1 • รายรับเฉลี่ย (Average Revenue : AR) รายรับทั้งหมดที่ผู้ผลิตได้รับคิดเฉลี่ยต่อหน่วยผลผลิต AR = TR / Q
การวิเคราะห์รายรับจากการผลิต (Total Revenue) • กรณีราคาสินค้า (P) คงที่ กรณีราคาสินค้า (P) ไม่คงที่
เส้นรายรับรวม (TR) กรณีที่ราคาสินค้าคงที่ TR TR 0 Q
ความสัมพันธ์ของเส้นรายรับต่างๆความสัมพันธ์ของเส้นรายรับต่างๆ • กรณีราคาสินค้าคงที่ เส้นรายรับเฉลี่ย เส้นรายรับเพิ่มจะเป็นเส้นเดียวกัน คือ เป็นเส้นตรงขนานกับแกนนอน เนื่องจากราคาสินค้าที่ผู้ผลิตขายสินค้าทุกหน่วยมีราคาเดียวกันตลอด P P1 MR=AR=D=P 0 Q
เส้นรายรับรวม กรณีที่ราคาสินค้าลดลง
กรณีที่ราคาสินค้าที่ขายมีราคาลดลงตามกฎของอุปสงค์กรณีที่ราคาสินค้าที่ขายมีราคาลดลงตามกฎของอุปสงค์ P P1 AR=D=P MR 0 Q
เงื่อนไขการผลิตที่ได้รับกำไรสูงสุด (1) • กำไร (Profit) : คือ ผลต่างระหว่างรายรับทั้งหมดกับต้นทุน • ทั้งหมด กำไรสูงสุดเมื่อ TR ห่างจาก TC มากที่สุด • กำไรรวม= TR – TC, กำไรต่อหน่วย = (TR/Q) –(TC/Q) = AR-AC ที่จุด A และ B TR ห่างจาก TC มากที่สุด Slope TR = Slope TC MR = MC
เงื่อนไขการผลิตที่ได้รับกำไรสูงสุด (2) • กำไร (Profit) : คือ ผลต่างระหว่างรายรับทั้งหมดกับต้นทุน • ทั้งหมด กำไรสูงสุดเมื่อ TR ห่างจาก TC มากที่สุด • กำไรรวม= TR – TC, กำไรต่อหน่วย = (TR/Q) –(TC/Q) = AR-AC ที่จุด A และ B TR ห่างจาก TC มากที่สุด Slope TR = Slope TC MR = MC
เงื่อนไขการผลิตที่ได้รับกำไรสูงสุด คือ MR=MC