310 likes | 952 Views
งานโรคเรื้อน. นางบัวลอย นนทะนำ นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ. กิจกรรมหลักในการดำเนินงานโรคเรื้อน. 1. การค้นหาผู้ป่วยใหม่ (active , passive) 2. การบำบัดรักษา 3. การป้องกันความพิการ 4. การฟื้นฟูสภาพและการสงเคราะห์. ตัวชี้วัดงานโรคเรื้อน 2553.
E N D
งานโรคเรื้อน นางบัวลอย นนทะนำ นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ
กิจกรรมหลักในการดำเนินงานโรคเรื้อนกิจกรรมหลักในการดำเนินงานโรคเรื้อน 1. การค้นหาผู้ป่วยใหม่(active , passive) 2. การบำบัดรักษา 3. การป้องกันความพิการ 4. การฟื้นฟูสภาพและการสงเคราะห์
ตัวชี้วัดงานโรคเรื้อน 2553 1. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการฟื้นฟูสภาพ ผู้พิการจากโรคเรื้อนโดยชุมชน 2. ระดับความสำเร็จในการลดอัตราความพิการระดับ 2 ในผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่
การฟื้นฟูสภาพผู้พิการจากโรคเรื้อนการฟื้นฟูสภาพผู้พิการจากโรคเรื้อน วัดการดำเนินงาน 5 ขั้นตอน • รวบรวมข้อมูลผู้พิการจากโรคเรื้อนในพื้นที่รับผิดชอบ • คัดเลือกและส่งผู้พิการเข้ารับการสงเคราะห์ 3. ประสาน งานเครือข่าย/ให้การสงเคราะห์ฟื้นฟูสภาพ • เข้ารับการพัฒนาศักยภาพด้านการฟื้นฟูสภาพผู้พิการจากโรคเรื้อนโดยชุมชน(นครสวรรค์,กำแพงเพชร) 5.ติดตามผลการฟื้นฟูสภาพผู้พิการจากโรคเรื้อน
การลดอัตราความพิการระดับ 2ในผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ วัดการดำเนินงาน 5 ขั้นตอน 1.มีการประชุม/ชี้แจงถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงาน 2.มีการวิเคราะห์สถานการณ์และวางแผนการดำเนินงาน 3.มีกิจกรรมเฝ้าระวังโรคเรื้อนเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง 4.มีการสนับสนุนด้านวิชาการ นิเทศงาน 5.รายงานการประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปสถานการณ์โรคเรื้อนสรุปสถานการณ์โรคเรื้อน 1.อัตราความชุกลดลง <1:10,000 2.อัตราผู้ป่วยรายใหม่ <1:100,000 แต่พบผู้ป่วยใหม่คงที่อย่างต่อเนื่องและเพิ่มขึ้นช่วงรณรงค์ 3.สัดส่วนผู้ป่วยใหม่พิการระดับ 2 และผู้ป่วยเชื้อมาก(MB) เพิ่มขึ้น สะท้อนถึงความล่าช้าในการค้นหาผู้ป่วยใหม่
จำนวนผู้ป่วยใหม่พิการเกรด2 2549-2551
จำนวนผู้พิการระดับ2ในทะเบียนที่ได้รับการสงเคราะห์(2535-2551)จำนวนผู้พิการระดับ2ในทะเบียนที่ได้รับการสงเคราะห์(2535-2551)
ปัญหาอุปสรรค 1. ประชาชนขาดความรู้ 2. แพทย์และบุคลากรสาธารณสุขขาดประสบการณ์ 3. การค้นหาไม่ต่อเนื่อง ไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย(พื้นที่เสี่ยง ผู้สัมผัส) 4. ผู้ป่วยพิการระดับ2 มีแผลเรื้อรัง มีความพิการเพิ่มขึ้น 5.ไม่มีตัวชี้วัดและไม่ใช่ปัญหาสำคัญของพื้นที่
โครงการราชประชาสมาสัย 50 ปีแห่งการสนองพระราชปณิธาน ค่าตอบแทนการค้นพบผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ รายละ2,000 บาท 1. ผู้ป่วยมาเอง ผู้ป่วยรับ 2,000 บาท ครั้งแรก 1,000 บาท/ รักษาครบ 1,000 บาท 2. มีผู้พามา ผู้ป่วยรับ 1,000 บาท ครั้งแรก 500 บาท/ รักษาครบ 500 บาท ผู้พามารับครั้งแรก 1,000 บาท จนท.สาธารณสุขไม่มีสิทธิ์ได้รับค่าตอบแทน
กิจกรรมปี 2553 1. การค้นหาผู้ป่วยใหม่(active , passive) 1.1 ตรวจผู้สัมผัสโรคร่วมบ้านโครงกา PGL-1 1.2ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชนร่วมกับเครือข่าย 8 อำเภอ 1.3 สอบสวนโรคผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ทุกราย 1.4ตรวจผู้สัมผัสโรคร่วมบ้านผู้ป่วย ปี50-52
2. การป้องกันความพิการ 1.1ตรวจเส้นประสาทและทดสอบกำลังกล้ามเนื้อผู้ป่วยในทะเบียนรักษาด้วยMonofilament 1.2ให้สุขศึกษาเพื่อป้องกันความพิการ
3. การฟื้นฟูสภาพและการสงเคราะห์ 3.1 โครงการพัฒนาเครือข่ายสวัสดิการสังคม และฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคเรื้อน เขต 8, 9 ,10 (นครสวรรค์ กำแพงเพชร) 3.2 โครงการสำรวจสภาพความพิการ ปัญหา เศรษฐกิจ สังคม ในผู้ป่วยโรคเรื้อน(นว.) 3.3 การฟื้นฟูสภาพทางกาย(ก.พ.) 3.4 การสงเคราะห์ผู้พิการ