E N D
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์
นิพจน์ (Expressions) • ความหมาย ทางคณิตศาสตร์นั้นเป็นนิพจน์ที่ใช้ในการคำนวณ ซึ่งนิพจน์ทางคณิตศาสตร์นั้นจะมีรูปแบบเหมือนกับสมการคณิตศาสตร์ แต่จะประกอบไปด้วย ค่าคงที่หรือตัวแปร ซึ่งเรียกอีกอย่างว่า ตัวถูกดำเนินการ (Operand) แล้วเชื่อมกันด้วยเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ หรือเรียกอีกอย่างว่า ตัวดำเนินการ (Operator) นั่นเอง • รูปแบบ [ตัวถูกดำเนินการตัวแรก][ตัวดำเนินการ][ตัวถูกดำเนินการตัวที่สอง] สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น
ลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (ยิ่งมากยิ่งสำคัญ) สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น
ตัวดำเนินการในการกำหนดค่าตัวดำเนินการในการกำหนดค่า • ตัวดำเนินการที่ใช้ในการกำหนดค่านั้นจะเป็นเครื่องหมาย = การทำงานของตัวดำเนินการนี้ จะทำการนำค่าที่อยู่ทางด้านขวาของตัวดำเนินการไปเก็บไว้ในตัวแปรทางด้านซ้ายของตัวตำเนินการ สิ่งที่อยู่ด้านขวาของตัวดำเนินการนั้นอาจจะเป็นนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ หรือจะเป็นตัวแปรก็ได้ • รูปแบบ [ตัวแปร] = [นิพจน์] • Simple Assignmentsจะมีรูปแบบเหมือนกับรูปแบบด้านบน หรือเหมือนกับสมการทางคณิตศาสตร์ทั่วไป • Compound Assignments เป็นการกำหนดที่สั้นกว่าแบบ Simple Assignments ซึ่งจะใช้ตัวดำเนินการ 5 ตัวด้วยกัน ดังนี้ *=, /=, %=, += และ -= สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น
ความหมายของตัวดำเนินการความหมายของตัวดำเนินการ สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น
ตัวดำเนินการ ++ และ -- • ตัวดำเนินการ ++ จะทำการเพิ่มค่าของตัวแปรอีก 1 ส่วน -- นั้นจะทำการลดค่าของตัวแปรลง 1 ซึ่งการสร้างนิพจน์ด้วยตัวดำเนินการ 2 ตัวนี้ จะมี 2 แบบ คือ • แบบ Postfixรูปแบบ [ตัวแปร] [ตัวดำเนินการ] • ตัวอย่าง A++ A-- สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น
ตัวดำเนินการ ++ และ - (ต่อ) • แบบ Prefix รูปแบบ [ตัวดำเนินการ] [ตัวแปร] • ตัวอย่าง ++A --A สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น