1 / 6

บทที่ 13 การผลิตแบบทันเวลาพอดี

บทที่ 13 การผลิตแบบทันเวลาพอดี. (Just-in-time production:- JIT). JIT เป็นการผลิตสินค้าเฉพาะจำนวนที่จำเป็น ในเวลาที่จำเป็นเท่านั้น. แนวคิดของ JIT คือการกำจัดของเสีย (waste) ที่เกิดขึ้นทั้งหมด

howe
Download Presentation

บทที่ 13 การผลิตแบบทันเวลาพอดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 13การผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just-in-time production:- JIT)

  2. JIT เป็นการผลิตสินค้าเฉพาะจำนวนที่จำเป็น ในเวลาที่จำเป็นเท่านั้น • แนวคิดของ JIT คือการกำจัดของเสีย (waste) ที่เกิดขึ้นทั้งหมด • ของเสีย หมายถึง สิ่งที่ทำให้เกิดต้นทุน แต่ไม่ทำให้เกิดมูลค่าใดๆ เพิ่มขึ้น ดังนั้น ของเสียจึงเป็นสิ่งที่กิจการมีไว้เกินความจำเป็นขั้นต่ำในด้านต่างๆ เช่น สินค้าคงคลัง พื้นที่โรงงาน เวลา ค่าใช้จ่ายที่มีมากเกินไป

  3. ตัวอย่างของระบบการผลิตแบบ JIT • ระบบการผลิตแบบดึง (Pull Production System) • จะไม่เริ่มกระบวนการผลิตจนกว่าจะมีความต้องการเกิดขึ้น • เมื่อพนักงานในสถานีการผลิตลำดับต่อไป (B) เบิกชิ้นส่วนไปใช้แล้ว จะมีการส่งสัญญาณให้สถานีก่อนหน้า (A) ได้รับรู้ถึงการเบิกนั้น สถานีก่อนหน้า (A) จะทำการผลิตเพิ่มเติมเพื่อทดแทนชิ้นส่วนที่ถูกเบิกไป • การผลิตที่เป็นระดับเดียวกัน (Uniform Plant Loading) • เน้นที่ปริมาณการผลิตของสายประกอบการขั้นสุดท้าย โดยการผลิตในการละครั้งไม่ควรมีความแตกต่างกันมากนัก นั้นคือ ต้องใช้การพยากรณ์ที่มีความแม่นยำสูง • การผลิตจำนวนน้อยในแต่ละครั้ง (Small – Lot Sizes) • ลดปริมาณการผลิตลงให้มากที่สุด เพื่อให้มีสินค้าคงคลังจำนวนน้อยทีสุด

  4. ประโยชน์ของการผลิตแบบทันเวลาพอดีประโยชน์ของการผลิตแบบทันเวลาพอดี • ลดจำนวนสินค้าคงคลัง • ลดพื้นที่การใช้งาน เพราะไม่ต้องใช้พื้นที่ในการเก็บรักษาสินค้าคงคลังมากนัก • ลดต้นทุน เช่นต้นทุนสินค้าคงคลัง ต้นทุนปรับตั้งเครื่องจักร ต้นทุนของเสียในการผลิต • ปรับปรุงคุณภาพ ฯลฯ

  5. ส่งอาทิตย์หน้าคะ ถ้าเป็นไปได้ขอความกรุณาพิมพ์ด้วยนะคะ • ถ้าท่านต้องการเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรม (โดยที่ท่านไม่มีปัญหาทางการเงินเกิดขึ้น) ท่านจะต้องทำอย่างไรบ้าง • ให้ใช้ความรู้ที่ท่านได้รับจากการเรียนวิชาบริหารการผลิตฯ ทั้งหมดมาบรรยาย ตั้งแต่ก่อนเป็นผู้ประกอบการจนถึงผลิตสินค้าจริงสู่ตลาด

  6. ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปจนถึงสอบ Final เสร็จขอความร่วมมือกรอกแบบประเมินผลการสอนวิชา บธ 407 กลุ่มเรียนวันเสาร์และอาทิตย์ • www.qa.mju.ac.th • ประเมินผลการสอน on line • พิมพ์ User name และ Pastword ด้วยรหัสนักศึกษาของตนเอง • คลิ๊กเลือก “ประเมินผล” ที่อยู่ท้ายชื่อรายวิชา/กลุ่ม/วันเวลาเรียน ให้ตรงกับรายวิชา/อาจารย์ที่ต้องการประเมิน • (คำถามปลายปิด) คลิ๊กค่าคะแนนหน้าข้อคำถาม • (คำถามปลายเปิด) พิมพ์ข้อความที่ต้องการ

More Related