120 likes | 135 Views
พ.ร.บ.สภาองค์กรชุมชน. เจตนารมณ์ พ.ร.บ.สภาองค์กรชุมชน. สถานการณ์. ชุมชนท้องถิ่นเป็นสังคมฐานราก ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ การพัฒนาประเทศที่ผ่านมา ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลให้ชุมชนท้องถิ่นอ่อนแอ ประสบความยากจน เกิดปัญหาสังคม
E N D
เจตนารมณ์ พ.ร.บ.สภาองค์กรชุมชน
สถานการณ์ • ชุมชนท้องถิ่นเป็นสังคมฐานราก ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ • การพัฒนาประเทศที่ผ่านมา ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลให้ชุมชนท้องถิ่นอ่อนแอ ประสบความยากจน เกิดปัญหาสังคม • ชุมชนมีการใช้ทุนทางสังคม วัฒนธรรม ภูมิปัญญา เพื่อดำรงอยู่ • มีกรณีตัวอย่างดีๆ ที่เป็นความร่วมมือหลายฝ่ายในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น • ชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง สามารถจัดการตนเองได้อย่างยั่งยืน • มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ การสร้างระบบประชาธิปไตย และระบบธรรมาภิบาล • ให้ชุมชนท้องถิ่นมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาท้องถิ่นตามความ • หลากหลายของวิถีชีวิตวัฒนธรรมภูมิปัญญาที่มีอยู่ในชุมชนท้องถิ่น • มีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลักการและเหตุผล
พ.ร.บ.สภาองค์กรชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่มา จากพื้นที่รูปธรรมการทำงานพัฒนาที่ได้จัดให้มีเวทีปรึกษาหารือร่วมกันของกลุ่มคนในหมู่บ้าน/ตำบลอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดผลดีต่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ชุมชนเข้มแข็งมีความสามารถในการจัดการงานพัฒนาด้านต่างๆ ทำให้เครือข่ายชุมชนที่มีประสบการณ์และเห็นความสำคัญของเรื่องนี้ ได้ร่วมกันร่าง พ.ร.บ.สภาองค์กรชุมชนขึ้นมา เพื่อให้มีพ.ร.บ.ที่จะช่วยหนุนเสริม รับรองให้การทำงานแบบมีเวทีปรึกษาหารือกันอย่างต่อเนื่องมีสถานะเป็นที่ยอบรับร่วมกันของทุกฝ่าย เสนอผ่านรัฐบาล และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ จนเป็นกฎหมายที่มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
เจตนารมณ์ พ.ร.บ. สภาองค์กรชุมชน • เพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง สามารถร่วมกันจัดการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนท้องถิ่นได้อย่างยั่งยืน และส่งเสริมให้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ พัฒนาประชาธิปไตยและ ธรรมาภิบาล • เป็นกฎหมายรับรองให้เวทีการปรึกษาหารือของชุมชนมีสถานะที่ชัดเจนเป็นที่ยอมรับร่วมกันของทุกฝ่าย • องค์กรชุมชนยังคงทำงานด้วยใจ คงความเป็นอิสระ สร้างการยอมรับด้วยการกระทำ ผลงาน ไม่ใช่อำนาจบังคับ • สภาองค์กรชุมชนมีบทบาทสำคัญในการเป็นเวทีปรึกษาหารือ มีข้อมูล แผนชุมชน การประสานความร่วมมือ
ตัวอย่างกลุ่มองค์กรต่าง ๆ ในหมู่บ้านชุมชน หลายหมู่บ้านร่วมกันจัดตั้งเป็นสภาองค์กรชุมชนตำบล
หมู่บ้าน 2 ชุมชน ชุมชน ชุมชน จดแจ้งจัดตั้งที่ ผู้ใหญ่บ้าน ปรึกษาหารือให้ได้ ผู้แทน 4 คน ขั้นตอนในการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนตำบล... หมู่บ้าน 1 ชุมชนอื่นๆ ชุมชน... ชุมชน ชุมชน ชุมชน ชุมชน... ชุมชน... จดแจ้งจัดตั้งที่ ผู้ใหญ่บ้าน จดแจ้งจัดตั้งที่ กำนัน ปรึกษาหารือให้ได้ ผู้แทน 4 คน ปรึกษาหารือให้ได้ ผู้แทน 2 คน ผู้แทนชุมชนท้องถิ่น/ผู้แทนชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม และผู้แทนชุมชนอื่นไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ประชุมจัดตั้ง หลักเกณฑ์ วิธีการและการจดแจ้ง การจัดตั้งชุมชน ชุมชนท้องถิ่น และชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ให้เป็นไปตามที่ พอช. ประกาศ ร้อยละ 60 ของชุมชนที่จดแจ้งเห็นชอบให้จัดตั้ง ประชุมครั้งแรกกำหนดจำนวนและคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิ 1 ใน 5 กำนันจดแจ้ง จัดตั้งส่งให้ พอช. สภาองค์กรชุมชนตำบล
โครงสร้าง พ.ร.บ.สภาองค์กรชุมชน แบ่งเป็น ๔ หมวด ๓๕ มาตรา หมวด ๑ สภาองค์กรชุมชนตำบล มาตรา ๕ – มาตรา ๒๓ มาตรา ๕ การจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนตำบล หมวด ๒ การประชุมในระดับจังหวัดของสภาองค์กรชุมชนตำบล มาตรา ๒๔ – มาตรา ๒๙ หมวด ๓ การประชุมในระดับชาติของสภาองค์กรชุมชนตำบล มาตรา ๓๐ – มาตรา ๓๓ หมวด ๔ การส่งเสริมกิจการของสภาองค์กรชุมชนตำบล มาตรา ๓๔ – มาตรา ๓๕
จังหวัด เชียงใหม่ กัลยาณิวัฒนา
เขตการปกครองจังหวัดเชียงใหม่เขตการปกครองจังหวัดเชียงใหม่ หน่วยงานปกครองท้องถิ่น อบจ. 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 2 แห่ง เทศบาลตำบล 94 แห่ง อบต. 113 แห่ง
ผลการดำเนินการพื้นที่ตำบลจัดตั้งและพัฒนาสภาองค์กรชุมชน จังหวังเชียงใหม่