660 likes | 1.25k Views
การบริหารการเปลี่ยนแปลง. (Change Management). โดย นางปานจิต จินดา กุล สป. คมนาคม. หัวข้อการบรรยาย. การเปลี่ยนแปลงดี....หรือไม่. ความหมายการบริหารการเปลี่ยนแปลง. ผู้ที่มีบทบาทในการบริหารการเปลี่ยนแปลง. กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง. ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ. การรับมือกับการเปลี่ยนแปลง.
E N D
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) โดย นางปานจิต จินดากุล สป. คมนาคม
หัวข้อการบรรยาย • การเปลี่ยนแปลงดี....หรือไม่ • ความหมายการบริหารการเปลี่ยนแปลง • ผู้ที่มีบทบาทในการบริหารการเปลี่ยนแปลง • กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง • ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ • การรับมือกับการเปลี่ยนแปลง
“Repeating the same behaviors while expecting the different result is an insane” (Albert Einstein) “You must change before you have to.” (Jack Welch) 6
“Repeating the same behaviors while expecting the different result is an insane” (Albert Einstein) “You must change before you have to.” (Jack Welch) 6
การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในระบบราชการ ? การพัฒนาระบบราชการ
การเปลี่ยนแปลงคืออะไรการเปลี่ยนแปลงคืออะไร • สภาวะธรรมชาติขององค์กรที่เกิดขึ้นเพื่อการปรับเปลี่ยน ปรับปรุงรูปแบบ องค์ประกอบ วิธีการ ที่แตกต่างไปจากเดิม • “การเดินทาง” ที่มีทั้งจุดเริ่มต้น และมีจุดหมายปลายทางที่ชัดเจน มีระยะเวลาในการเดินทางจากจุดหนึ่งไปสู่อีกจุดหนึ่ง ไม่ใช่เป็นเพียง“เหตุการณ์” หนึ่งๆ ซึ่งเกิดขึ้นแล้วจบไป • กระบวนการซึ่งสามารถคาดการณ์และบริหารจัดการได้ • สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง ความสามารถในการกลับสู่สภาพเดิม (Resilience) และระดับในการแก้ไขปัญหาต่างๆ • สิ่งที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจ การสร้างการมีส่วนร่วม การวางแผน การ บริหารจัดการ และความเป็นผู้นำ
ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กรปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กร 1. ปัจจัยภายนอก(External Change Driver) คู่แข่ง ลูกค้า/ ประชาชน คู่ค้า สภาพแวดล้อมภายนอก
ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กรปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กร 2. ปัจจัยภายใน(Internal Change Driver) ทิศทางและกลยุทธ์ขององค์กร ผู้บริหาร โครงสร้างองค์กร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในองค์กร
ผลกระทบหลักที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กรผลกระทบหลักที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กร 1. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กร 2. การเปลี่ยนแปลงเรื่องคน 3. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงาน 4. การเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรม
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม จำแนก 5ประเภท โน้มเอียงสนับสนุน บุกเบิก ต่อต้าน เฉยเมย โน้มเอียงต่อต้าน 11
สัญญาณบ่งชี้การต่อต้านสัญญาณบ่งชี้การต่อต้าน การรวมพลังต้าน การต่อต้านที่ชัดเจน กิจกรรมที่ต่อต้าน สัญญาณเริ่มแรก ซุบซิบ นินทา การต่อต้านเงีย เช่น ก่อวินาศกรรม ต่อต้านแบบ ไม่โต้ตอบ นิ่งเฉย เช่น ไม่แสดง ความเห็นใน การประชุม ปฏิเสธ ท้าทาย วิพากษ์วิจารณ์ (รายบุคคล) ทดสอบ ทดลองกำลัง ข่มขู่ คุกคาม ประท้วง (กลุ่ม) ต่อต้านแบบ เปิดเผย เช่น โต้เถียง จู่โจม ต่อต้านแบบเชิงรุก ชักชวนผู้อื่น ทำลายสิ่งของ
รูปแบบพฤติกรรมของมนุษย์ในการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง(Valley of Despair)
ระดับการพัฒนาการยอมรับการเปลี่ยนแปลง มีส่วนร่วมกับความสำเร็จ (Commitment) Commitment Curve ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (Change aborted) ยอมรับ (Acceptance) เข้าใจ (Understanding) ไม่พยายามและไม่สนับสนุน (Decision not accept) การรับรู้ (Awareness) ความคิดทางลบ (Negative Perception) สับสน (Confusion)
การบริหารการเปลี่ยนแปลง คือ... • ... จะทำอย่างไรให้ไปสู่จุดหมายปลายทางของการเปลี่ยนแปลงที่กำหนดไว้ • ... เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนและการกำกับดูแลการเดินทาง • เป็นการเชื่อมโยงการเดินทางขององค์กรระหว่างจุดที่องค์กรดำรงอยู่ในปัจจุบัน (As-Is) และจุดมุ่งหมายปลายทางที่องค์กรต้องการจะไปถึง (To-be) เพื่อบริหารจัดการให้การเดินทางนั้นดำเนินไปได้อย่างราบรื่น • เป็นการเตรียมความพร้อมขององค์กรในการเปลี่ยนแปลง • เป็นการวางแผนและออกแบบองค์ประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการเปลี่ยนแปลง • เป็นการบริหารจัดการที่เกี่ยวข้องกับการนำการเปลี่ยนแปลงไปปฏิบัติ รวมทั้งกระบวนการในการเปลี่ยนแปลงเพื่อลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นและก่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุด • เป็นการติดตามและตรวจสอบความก้าวหน้าของการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเป็นการปรับทิศทางหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
การบริหารการเปลี่ยนแปลง ในการศึกษาและทำความเข้าใจการเปลี่ยนแปลง ควรจะต้องมีการกำหนด... ผลลัพธ์ที่คาดหวัง(To Be • วัตถุประสงค์ • ความท้าทาย • อุปสรรค As Is การเปลี่ยนแปลงในอดีต ที่ประสบผลสำเร็จ
ผู้มีบทบาทในการบริหารการเปลี่ยนแปลงผู้มีบทบาทในการบริหารการเปลี่ยนแปลง
ผู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงผู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลง • Change Sponsorผู้ที่ตัดสินใจว่าการเปลี่ยนแปลงใดจะเกิดขึ้น • Change Advocateผู้ที่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง • Change Agentผู้นำการเปลี่ยนแปลง (ไปสู่ความเป็นจริง) • Change Targetผู้ที่ต้องเปลี่ยนแปลง
Change Sponsor หมายถึงผู้กำหนดและตัดสินใจว่าการเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นอย่างไร เป็นผู้มีอำนาจตัดสินใจและแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาที่มีผลกระทบสูงต่อความสำเร็จ ควรเป็นผู้บริหารระดับสูงขององค์การ Change Advocate หมายถึง ผู้ที่ผลักดันและสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมทั้งสามารถสื่อสารเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงไปยังกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ในองค์การ มีทักษะในการบริหารจัดการ แก้ไขปัญหา โน้มน้าวจิตใจ จูงใจให้ผู้อื่นยอมรับ Change Agent หมายถึง ผู้ที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง มีส่วนช่วยดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ตลอดจนช่วยกำกับดูแลและติดตามให้การบริหารการเปลี่ยนแปลงนั้น ดำเนินไปอย่างราบรื่นและได้ผลลัพธ์อย่างที่คาดหวัง ทำหน้าที่สื่อสารปัญหาที่พบ จึงควรมีความเข้าใจชัดเจนเกี่ยวกับองค์กร กระบวนงาน Change Targetหมายถึง ผู้ที่ต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น จึงจำเป็นต้องได้รับการสื่อสารให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งผลกระทบต่างๆ มีการปรับทัศนคติ แนวคิด เพื่อให้เกิดความเต็มใจยินยอม กระตือรือร้นที่จะสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งแสวงหาความรู้ใหม่ๆ เพื่อพัฒนาตนเอง
Tip • ผู้ที่ทำหน้าที่เป็น Change Sponsor • เป็นผู้ที่มีทักษะในการวางแผนที่ดีและมี ความคิดเชิงกลยุทธ์ • เป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์ และมีความเป็นผู้นำสูง • เป็นผู้ที่มีความสามารถในการตัดสินใจและ แก้ไขปัญหาต่างๆ ได้อย่างดี โดยเฉพาะ ปัญหาที่มีผลกระทบสูงต่อบุคลากรใน องค์กร • เป็นผู้ที่มีอิทธิพลในการที่จะชักจูงหรือโน้ม น้าวใจผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
Tip • ผู้ที่ทำหน้าที่เป็น Change Agent • เป็นผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับองค์กรหรือหน่วยงาน เป็นอย่างดี เช่น เรื่องกระบวนการทำงาน และวัฒนธรรมการทำงาน เป็นต้น • เป็นผู้ที่คนส่วนใหญ่ในองค์กรให้ความเชื่อถือ • เป็นผู้ที่มีทักษะด้านการประสานสัมพันธ์และสามารถทำงานเป็นทีม • เป็นผู้ที่มีทักษะในการสื่อสาร และการถ่ายทอดความรู้ สามารถชักจูงโน้มน้าวใจผู้อื่นได้ • มีความสามารถในการวิเคราะห์และการมองภาพองค์รวมเป็นอย่างดี • มีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง กรอบแนวทางการบริหารการเปลี่ยนแปลง 1. การวางแผนและกำกับดูแล(Navigation) 2. ภาวะผู้นำ(Leadership) 3. การปรับปรุงและพัฒนาองค์ประกอบขององค์กร(Enablement) 4. ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลง(Ownership)
องค์ประกอบของการบริหารการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของการบริหารการเปลี่ยนแปลง ระดับมหภาค(Macro) Navigation Leadership ( การวางแผนและกำกับดูแล ) ( ภาวะผู้นำ ) Enablement Ownership (การปรับปรุงและพัฒนาองค์ประกอบขององค์กร) (ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลง) ระดับจุลภาค(Micro) อุปทาน (Supply) ผลักดัน อุปสงค์ (Demand) กระตุ้น
Macro Navigation Leadership Communication Demand Supply Enablement Ownership Micro กรอบแนวทางการบริหารการเปลี่ยนแปลง Navigation Leadership • ทำอย่างไรให้สมาชิกในองค์กรเข้าใจร่วมกัน • ต้องสามารถแก้ปัญหาและตัดสินใจ รวมทั้งสร้าง Change Agent • การกำหนดโครงการเปลี่ยนแปลงต้องเชื่อมโยงกับความต้องการขององค์กร • ต้องกำหนดแผนระยะยาวที่มีระบบตรวจสอบ และการบริหารจัดการคุณภาพ Enablement Ownership • สร้างความเป็นเจ้าของร่วมกันโดย • การทำแผนการสื่อสาร • บริหารจัดการปัญหาด้านวัฒนธรรมและการต่อต้าน • จัดทำแผนดำเนินการ • ประเมินความเสี่ยง • และความคาดหวัง • ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง และกระบวนงานที่เหมาะสม • บริหารจัดการคน นโยบาย และกระบวนงานอย่างมีประสิทธิภาพ • จัดฝึกอบรมเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะให้แก่บุคลากร
การวางแผนและกำกับดูแล (Navigation) กรอบแนวทางการบริหารการเปลี่ยนแปลง • การวางแผนการดำเนินงาน เพื่อปรับเปลี่ยนสถานะองค์กรในปัจจุบัน (As-is)ไปสู่สถานะที่ต้องการตามวัตถุประสงค์ที่คาดหวังไว้ (To-be) • ต้องประกอบไปด้วยการกำหนดกิจกรรมต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในการสร้างการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้รู้ว่าการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้นมีอะไรบ้าง ลักษณะ เป็นอย่างไร เมื่อไหร่ รวมทั้งกิจกรรมและระยะเวลาของการปรับปรุงองค์ประกอบต่างๆ ขององค์กรเพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง • มองเห็นภาพรวมทั้งหมดของแนวทางการเปลี่ยนแปลง • ต้องกำหนดผลลัพธ์ที่พึงจะได้เป็นระยะๆ ที่จะวัดผลได้
สำนักงาน ก.พ.ร. กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง • กำหนดเป้าหมายของการพัมฯระบบราชการ (To be) • จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ • เสนอวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และกำหนดตัวชี้วัดในแต่ละกิจกรรม พร้อมติดตามผล
ภาวะผู้นำ (Leadership) กรอบแนวทางการบริหารการเปลี่ยนแปลง • การมีภาวะผู้นำที่มีประสิทธิภาพ • เป็นหลักในองค์กรที่ร่วมมือและมุ่งมั่นในการบริหารการเปลี่ยนแปลง • ช่วยกำหนดทิศทางของการเปลี่ยนแปลงชัดเจน สร้างความมั่นใจต่อผลสำเร็จในการไปสู่จุดหมายปลายทางเพื่อสร้างภาพใหม่ขององค์กร • เป็นตัวอย่างที่ดีในการสร้างพฤติกรรมใหม่ๆ ของ “ผู้นำ” • สื่อสารให้คนในองค์กรเข้าใจและตระหนักให้เห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลง
สำนักงาน ก.พ.ร. กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง • เลขาธิการก.พ.ร. เป็นหลักในการคิดริเริ่ม พัฒนาแนวทาง วิธีการ เครื่องมือที่จะช่วยในการพัฒนาระบบราชการ • ทบทวนและกำหนดทิศทางที่ชัดเจน • กำหนดเป้าหมายของการพัมฯระบบราชการ (To be) • จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ • เสนอวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และกำหนดตัวชี้วัดในแต่ละกิจกรรม
การปรับปรุงและพัฒนา องค์ประกอบขององค์กร (Enablement) กรอบแนวทางการบริหารการเปลี่ยนแปลง • การสร้างความพร้อม ทั้งในด้านศักยภาพและองค์ประกอบที่จำเป็นแก่บุคลากรและองค์กร เพื่อสนับสนุนให้การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้ • มุ่งเน้นกลุ่มบุคลากรที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงให้สามารถปรับตัวและตอบรับกับการเปลี่ยนแปลงได้ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างทักษะ ความรู้ การสนับสนุนเครื่องมือใหม่ๆ การปรับปรุงกระบวนการต่างๆ เพื่อตอบสนองกับสภาพแวดล้อมในการทำงานใหม่ๆ • การปรับเปลี่ยนโครงสร้างเพื่อให้เหมาะสมกับแนวทางใหม่ๆ • การประเมินผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งการกำหนดแรงจูงใจต่างๆ เป็นสิ่งที่สนับสนุนให้บุคลากรเปลี่ยนพฤติกรรมในการทำงาน
สำนักงาน ก.พ.ร. กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง • ปรับโครงสร้างของสำนักงาน ก.พ.ร. และส่วนราชการ • แต่งตั้งตำแหน่งผู้ว่าราชลการจังหวัดแบบบูรณาการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง • พัฒนาบุคลากรทั้งภายในและภายนอก • กำหนดแนวทางการวัดผล พร้อมจัดสรรแรงจูงใจ • เลขาธิการก.พ.ร. เป็นหลักในการคิดริเริ่ม พัฒนาแนวทาง วิธีการ เครื่องมือที่จะช่วยในการพัฒนาระบบราชการ • ทบทวนและกำหนดทิศทางที่ชัดเจน • กำหนดเป้าหมายของการพัมฯระบบราชการ (To be) • จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ • เสนอวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และกำหนดตัวชี้วัดในแต่ละกิจกรรม
ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของการปลี่ยนแปลง(Ownership)ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของการปลี่ยนแปลง(Ownership) กรอบแนวทางการบริหารการเปลี่ยนแปลง • การสร้างให้บุคลากรรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงถือเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จของการเปลี่ยนแปลงทั้งในเบื้องต้นและระยะยาว • การสร้างการเป็นส่วนหนึ่งการรู้สึกเป็นเจ้าของได้นั้นต้องอาศัยการรับรู้ รับทราบและการมีส่วนร่วมเป็นสิ่งสำคัญ • การเปิดโอกาสให้บุคลากรได้แสดงความคิดเห็น หรือเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสิ่งใหม่ๆ จะเป็นแนวทางที่ผลักดันให้เกิดการยอมรับ การสื่อสารจึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้เกิดการเป็นส่วนหนึ่งการรู้สึกเป็นเจ้าของ
สำนักงาน ก.พ.ร. กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง • ปรับโครงสร้างของสำนักงาน ก.พ.ร. และส่วนราชการ • แต่งตั้งตำแหน่งผู้ว่าราชลการจังหวัดแบบบูรณาการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง • พัฒนาบุคลากรทั้งภายในและภายนอก • กำหนดแนวทางการวัดผล พร้อมจัดสรรแรงจูงใจ • เลขาธิการก.พ.ร. เป็นหลักในการคิดริเริ่ม พัฒนาแนวทาง วิธีการ เครื่องมือที่จะช่วยในการพัฒนาระบบราชการ • ทบทวนและกำหนดทิศทางที่ชัดเจน • มอบหมายงาน/โครงการให้รับผิดชอบ • มีการประชุม สื่อสารให้บุคลากรรับทราบอย่างสม่ำเสมอ • เปิดช่องทางรับฟังความคิดเห็นจากบุคลากรทั้งจากภายในและภายนอก • กำหนดเป้าหมายของการพัมฯระบบราชการ (To be) • จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ • เสนอวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และกำหนดตัวชี้วัดในแต่ละกิจกรรม
กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง 1. ทำความเข้าใจกับวัตถุประสงค์และบริบทของการเปลี่ยนแปลง (Understand change objectives and context) 2. เตรียมความพร้อม(Prepare for change) 3. การวางแผนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ(Develop change management plan) 4. การดำเนินการตามแผนการเปลี่ยนแปลง(Execute change management plan) 5. สนับสนุนให้การเปลี่ยนแปลงดำเนินการอย่างยั่งยืน (Sustain change)
2. เตรียมความพร้อม(Prepare for change) • 2.2 ประเมินผลกระทบ • จากการเปลี่ยนแปลง • ระดับองค์กร • ระดับบุคคล 2.1 ประเมินความพร้อม ขั้นตอนการประเมินความพร้อม - ระบุกลุ่มเป้าหมายที่จะทำการประเมิน - กำหนดวิธีการประเมินและคำถาม - ทำการประเมิน - วิเคราะห์ผลการประเมิน - กำหนดแนวทางและแผนดำเนินการ • ทำความเข้าใจองค์ประกอบขององค์กร • กำหนดวิธีการประเมินและทำการประเมิน • สรุปผลวิเคราะห์ • นำผลประเมินไปกำหนดแผนการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การวางแผนและกำกับดูแล (Navigation) การประเมินความพร้อมในมิติต่างๆ • ประเมินความรู้และความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อวัตถุประสงค์และเหตุผลของการเปลี่ยนแปลง • ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อองค์กรอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง • ผลกระทบต่อบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง สืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลง • การจัดสรรทรัพยากรต่างๆให้เหมาะสมและเพียงพอที่จะสามารถดำเนินการเปลี่ยนแปลง
ภาวะผู้นำ (Leadership) การประเมินความพร้อมในมิติต่างๆ • การประเมินทัศนคติของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อผู้นำในแง่มุมต่างๆ เช่นบทบาทของผู้นำต่อการเปลี่ยนแปลงความสนใจ ระดับของการมีส่วนร่วมของผู้นำต่อการเปลี่ยนแปลง การให้คำปรึกษาและคำแนะนำ ตลอดจนการมีส่วนช่วยเหลือในการปรับตัวของผู้ใต้บังคับบัญชาในการเปลี่ยนแปลง • การสื่อสารเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของผู้นำ
การประเมินความพร้อมในมิติต่างๆ การปรับปรุงและพัฒนา องค์ประกอบขององค์กร (Enablement) • ประเมินความเข้าใจและทัศนคติของกลุ่มเป้าหมายในเรื่องของการได้รับการสนับสนุนและพัฒนาในด้านต่างๆ เพื่อให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น เช่น • ความรู้ในการติดต่อแหล่งข้อมูลต่างๆ เมื่อตนเองประสบปัญหาในการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ใหม่ • การมีความรู้ทักษะที่เหมาะสมและเพียงพอที่จะทำให้สามารถปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ • การได้รับการฝึกอบรมเพียงพอที่จะทำให้สามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การประเมินความพร้อมในมิติต่างๆ ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลง (Ownership) • ประเมินความเข้าใจการยอมรับ รวมทั้งประสิทธิภาพของการสื่อสารข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ เช่น • การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงอย่างเพียงพอ ต่อเนื่องและสม่ำเสมอ • ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลง และรู้สึกว่าความคิดเห็นของตนเองนั้นมีค่า และมีความหมาย • ความมั่นใจว่าการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นนั้นจะประสบความสำเร็จ • ความเต็มใจที่จะสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง และความพร้อมที่จะให้การร่วมมือเพื่อให้การเปลี่ยนแปลงประสบความสำเร็จ
สิ่งที่ต้องคำนึงสำหรับการประเมินผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงImpact Assessment
3. การวางแผนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ การพัฒนาวิสัยทัศน์ ของการ เปลี่ยนแปลง การพัฒนาโครงสร้างที่สนับสนุนการ เปลี่ยนแปลง การสร้างทีมเจ้าภาพ การวางแผนบริหาร การเปลี่ยนแปลง และแผน การสื่อสาร • การกำหนดสิ่งที่ต้องทำ • (Change Initiatives) • ทำเมื่อใด ทำอย่างไร • พร้อมกำหนดตัวชี้วัด • การสื่อสารเพื่อสร้าง • ความเข้าใจที่ดีต่อการ • เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ทำหน้าที่เป็นผู้รับผิด ชอบในการวางแผน ดำเนินการตามกิจกรรม ต่างๆให้ได้ผลตามที่ วางเป้าหมายไว้ สิ่งที่ท่านต้องการให้เกิด ขึ้นหลังจากการเปลี่ยน แปลงนี้ เป็นภาพใน อนาคตที่ท่านต้องการ เห็นเมื่อการเปลี่ยน แปลงสิ้นสุดลง • การฝึกอบรม • ระบบการให้ผล • ตอบแทนและรางวัล • พัฒนาทีมงาน
4. การดำเนินการตามแผนการเปลี่ยนแปลง • ต้องกำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน • ต้องกำหนดตัวชี้วัดเป็นระยะ ๆ • เก็บรวบรวมความคิดเห็น • และข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง • มีระบบการติดตามผล
5. สนับสนุนให้การเปลี่ยนแปลงดำเนินการอย่างยั่งยืน
การรับมือกับการเปลี่ยนแปลงการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง 1. เปิดรับการเปลี่ยนแปลง 2. จัดการกับสิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน 3. คิดในเชิงบวกและทำตัวให้กระฉับกระเฉง 4. ควบคุมอารมณ์ของคุณ 5. อยู่ในโลกของความเป็นจริง 6. หลีกเลี่ยงการมองโลกอย่างคับแคบ 7. หมั่นพัฒนาทักษะของคุณ 8. ชื่นชอบและเชื่อมั่นในตัวคุณเอง
ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการเปลี่ยนแปลง
The Eight – Stage Process(by John P. Kotter) 1. Establishing a Sense of Urgency 2. Creating the Guiding Coalition 3. Developing a Vision and Strategy 4. Communicating the Change Vision 5. Empowering Employees for Broad-Based Action 6. Generating Short-Term Wins 7. Consolidating Gains and Producing More Change 8. Anchoring New Approaches in the Culture