1 / 31

การบริหารการเปลี่ยนแปลง กระทรวงสาธารณสุข

การบริหารการเปลี่ยนแปลง กระทรวงสาธารณสุข. และ เขตพื้นที่เครือข่ายบริการ. การเปลี่ยนแปลงส่วนกลาง. National Health Authority. การเปลี่ยนแปลงระดับเขตพื้นที่. Regional Providers. National Health Authority. บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ.

Download Presentation

การบริหารการเปลี่ยนแปลง กระทรวงสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารการเปลี่ยนแปลง กระทรวงสาธารณสุข และ เขตพื้นที่เครือข่ายบริการ

  2. การเปลี่ยนแปลงส่วนกลางการเปลี่ยนแปลงส่วนกลาง National Health Authority การเปลี่ยนแปลงระดับเขตพื้นที่ Regional Providers

  3. National Health Authority บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ๑. กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ระดับประเทศ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ๒. กำกับดูแลระบบ โดยอาศัยกฎหมาย ระเบียบ ๓. กำหนด และควบคุมให้เป็นไปตามมาตรฐานสาธารณสุข ๔. กำหนดมาตรฐานและประเมินเทคโนโลยี ๕. การจัดการองค์ความรู้และงานวิจัย ๖. การติดตามประเมินผล และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ๗. การบริหารทรัพยากรบุคคล และการเงินการคลัง

  4. National Health Authority เงื่อนไขการแสดงบทบาทหน้าที่ การจัดความสัมพันธ์ : การเมือง/องค์กรบริหาร/หน่วยปฏิบัติ กลไกการทำงานที่โปร่งใส เข้มแข็ง และเป็นกลาง (คณะกรรมการอิสระ และกลไกด้านกฎหมาย) ขอบเขต ภารกิจ ๑. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่สำคัญของประเทศ ๒. การกำหนดทิศทางแผนงาน แผนเงิน แผนคน ในภาพรวม ๓. บริหารจัดการให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ เป็นตัวเชื่อมระหว่าง ระดับนโยบาย/การเมือง กับระดับบริหาร/ปฏิบัติ

  5. National Health Authority องค์ประกอบของภารกิจ ครอบคลุม 4 ระบบ ได้แก่ บริการสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรค และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ แต่ละภารกิจ มีประเด็นที่ต้องปฏิรูป ๑๑ หัวข้อ กสธ. จะตั้ง คทง. ๑๑ ชุด จัดทำข้อเสนอและโครงสร้างรองรับในแต่ละประเด็น ระยะเวลาดำเนินการ ๓ เดือน

  6. การเปลี่ยนแปลงระดับเขตพื้นที่การเปลี่ยนแปลงระดับเขตพื้นที่ Regional Providers • ประเด็นที่ได้ข้อสรุป • Implement Regional Providers 12 เขต + กทม. • มี Providing Board ระดับเขตพื้นที่ ประเด็นที่ยังไม่ได้ข้อสรุป 1) การแยกบทบาทของ Regulator และ Provider 2) การมี Back Office สนับสนุน

  7. Regional Providers เน้นบทบาท หน้าที่ ของการจัดบริการ 1. การกำหนด แผนพัฒนาสุขภาพระดับเขต เพื่อเป็นยุทธศาสตร์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพในเขตพื้นที่ 2. จัดสรร/เกลี่ยทรัพยากร บริหารจัดการระบบบริการสุขภาพ ให้เกิดประสิทธิภาพ (คน เงิน ของ) 3. กำกับ ติดตาม และประเมินผล การดำเนินงานของเครือข่ายบริการ

  8. การเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมาการเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมา • การกำหนดบทบาท 3 ส่วนให้ชัดเจน • National Health Authority (NHA) & Regulator • Purchaser หมายถึง สปสช. • Provider หมายถึง เครือข่ายบริการ และหน่วยบริการ 2. การพัฒนาบทบาท NHAของ กสธ. เบื้องต้นได้กำหนด “เป้าหมาย” ในรูป KPIระดับกระทรวง ซึ่งได้ขับเคลื่อนตั้งแต่ 1 มค. 56

  9. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ KPI กระทรวง KPI กรม KPI เขต KPI จังหวัด แผนงานแก้ไขปัญหา การตรวจราชการนิเทศงาน การจัดสรรงบประมาณ การกำกับ ประเมินผล

  10. การเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมาการเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมา • 3. การพัฒนาบทบาท ผู้ให้บริการ (Provider) • การจัดเครือข่ายบริการ และแบ่งเขตพื้นที่เครือข่ายบริการ เป็น 12 เขต ครอบคลุมประชากรเฉลี่ยเขตละ 5 ล้านคน • ริเริ่มจัดทำ “Service plan” ในแต่ละเครือข่ายบริการฯ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดบริการในปี 2556 โดยมีเป้าหมายที่ 10 สาขา ซึ่งถือเป็นปัญหาเร่งด่วน • กำหนดให้ทุกเขตจัดทำ “แผนสุขภาพเขต” เป็นครั้งแรก โดยให้ครอบคลุมทั้งแผนบริหารจัดการ แผนบริการ และแผนส่งเสริมป้องกันโรค โดยมุ่งเน้นประสิทธิภาพในการทำงาน 4. พัฒนารูปแบบการทำงานร่วมกันระหว่าง กสธ. และ สปสช. โดยใช้ PP model เป็นตัวอย่างนำร่อง

  11. Realignment of Work แผนสุขภาพเขต / จังหวัด การจัดสรรงบประมาณแบบบูรณาการ กระบวนการปฏิบัติ

  12. National Programs Health Promotion & Prevention Basic Services Area Health กรอบงานส่งเสริมป้องกัน ตามลักษณะงาน

  13. นโยบายสุขภาพ สปสช. กรม สป กรม PPNP บูรณาการ สปสช.เขต MOU MOU 8 Flagships (BS, NP) (NP) เขต สธ. PPA 10% งบ UC งบ สธ. แผนยุทธ กำกับติดตาม (949 ล้าน) (6,000 ล้าน) จังหวัด PPA 20% BS, NP, AH อำเภอ PPE 70%

  14. ข้อสรุปการบริหารงาน PP ระหว่าง สธ.-สปสช. ปี 56 กรอบการบริหารงานร่วมกัน 1. บทบาท สธ. เป็น National Health Authority & Providers ส่วน สปสช. เป็น National Health Security & Purchaser 2. ใช้กลไกที่มีอยู่ ได้แก่ คปสข. และ อปสข. 3. กรอบงาน PP 3 กลุ่ม (Basic Service, National Program, และ Area Health) 4. คงกรอบการบริหารงบ PP ไว้ 5 ส่วน (NPP, PPE, PPA, สนับสนุนส่งเสริม, ทันตกรรมส่งเสริม

  15. กลไกระดับเขต คทง. ยกร่าง MOU (ฝ่ายละ 5 คน) MOU PPE BS เป้าหมาย / KPI PPA แผนงาน / กลยุทธ NP สนับสนุน M&E การบริหารเงิน PP ทันตกรรม

  16. วงเงินงบ PP ที่ดำเนินการร่วมกัน ค่าวัคซีน สมุดบันทึก 1,130 ล้าน 1. งบ NPP 1,682 ล้าน แผนระดับชาติ 550 ล้าน ระดับเขต 2. งบ PPE 3,300 ล้าน (หักเงินเดือน) งบรวม 6,000 ล้าน 3. งบ PPA 1,114 ล้าน (เขตละ 500 ล้าน) (หักงบสนับสนุนกองทุนตำบล) งบกระทรวง 949 ล้าน 4. งบสนับสนุน 502 ล้าน (เขตละ 80 ล้าน) 5. งบทันต 1,085 ล้าน

  17. ระยะที่ ๑ การเสนอแผนงาน งบ PP สปสช.เขต เขต สธ./จังหวัด แผนพัฒนาสุขภาพเขต กำกับดูแล งบ PP หน่วยบริการนอกสังกัด สธ. หน่วยบริการในสังกัด สธ.

  18. ระยะที่ ๒ การรายงานผล ตรวจสอบ เขต สธ./จังหวัด สปสช.เขต รายงานผล ตรวจสอบ รายงานผล หน่วยบริการนอกสังกัด สธ. หน่วยบริการในสังกัด สธ.

  19. จุดเปลี่ยนแปลงที่สำคัญจุดเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ 1. MOU ระดับเขต Bulk-buying 2. เป้าหมายบริการชัดเจน แผนสุขภาพเขต 3. ผู้รับผิดชอบต่อผลผลิต บทบาท คปสข. 4. พื้นที่ครอบคลุม เต็มพื้นที่ 5. การติดตามประเมินผล M&E

  20. แผนสุขภาพเขต และ แผนสุขภาพจังหวัด (๒๕ แผนงาน)

  21. สภาพปัญหา นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนแก้ปัญหา แผนงาน กระบวนงาน แผนปฏิบัติ การปฏิบัติ การกำกับ ติดตาม การปฏิบัติ การรายงานผล ผลผลิต ผลลัพท์ ผลกระทบ

  22. การประเมินปัญหา สภาพปัญหา นโยบาย แผนแก้ปัญหา การประเมินกลยุทธ์ การประเมินกระบวนการ แผนปฏิบัติ การกำกับ ติดตาม การรายงานผล การปฏิบัติ M&E ผลผลิต ผลลัพท์ ผลกระทบ

  23. บริการ สส ปก บริหาร สุขภาพสตรี และทารก + BS การเงินการคลัง พัฒนาบริการ 10 สาขา สุขภาพเด็ก 0-2 ปี + BS การบริหารกำลังคน-จริยธรรม พัฒนาระบบส่งต่อ สุขภาพเด็ก 3-5 ปี + BS ระบบข้อมูล คุณภาพบริการ สุขภาพเด็กนักเรียน + BS การบริหารเวชภัณฑ์ การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย สุขภาพวัยรุ่น + BS พัฒนาประสิทธิภาพ ซื้อ/จ้าง สาธารณสุขชายแดน ป้องกันควบคุม NCD (DM&HT) ยาเสพติด ดูแลเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็ง โครงการพระราชดำริ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ อาหารปลอดภัย แผนสุขภาพเขต การควบคุมโรคติดต่อ (๒๕ แผน) สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ การมีส่วนร่วมภาคประชาชน

  24. ลักษณะสำคัญของ แผนสุขภาพเขต - ภาพรวม / แผนย่อย ตามหัวข้อ 25 แผน - เนื้อหาหลัก : สถานการณ์ ผลตามตัวชี้วัด กลยุทธ และมาตรการสำคัญ - ขอบเขต ครอบคลุมงานของ ศูนย์วิชาการ + เขตพื้นที่เครือข่าย + แผนจังหวัด - งาน PP รองรับงานตามกลุ่มวัย ทั้ง BS และ NP - ข้อมูล BS เป็นความครอบคลุม เน้นความถูกต้อง

  25. แผนบูรณาการเชิงรุก เห็นทิศทางในภาพรวม แผนยุทธศาสตร์ เน้นปัญหาสำคัญ จัดกลุ่มปัญหา/บูรณาการ แผนแก้ปัญหา แต่ละปัญหามีกลยุทธ์/งบประมาณชัดเจน มาตรการชัดเจน แผนปฏิบัติ งบประมาณตามกิจกรรม กิจกรรม

  26. องค์ประกอบของแผนงาน PP กลุ่มวัย องค์ประกอบของแผนงาน PP กลุ่มวัย องค์ประกอบของแผนงานส่งเสริมป้องกันกลุ่มวัย แผนสุขภาพทารก 0-2 ปี แผนสุขภาพผู้สูงอายุ แผนสตรีตั้งครรภ์คุณภาพ แผนสุขภาพเด็กปฐมวัย 3-5 ปี แผนคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็ง เต้านม แผนสุขภาพเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) และเยาวชน แผนสุขภาพวัยรุ่น แผนป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กาให้บริการหญิงตั้งครรภ์ที่พึงได้รับ -นมแม่ -พัฒนา 4 ด้าน -การเจริญเติบโต -รูปร่าง/ส่วนสูง -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน เด็กปฐมวัยมีคุณภาพและบทบาทพ่อ-แม่ในการเลี่ยงดูแลปฐมวัย -พัฒนาการ4ด้าน -การเจริญเติบโต -รูปร่าง/ส่วนสูง -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน การเข้าถึงกลุ่มวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง -เพศสัมพันธุ -บุรี แอลกอฮอล์ -ยาเสพติด -พฤติกรรมอารมณ์ คลินิก NCDคุณภาพ (ขยายความครอบคลุมการตรวจภาวะแทรกซ้อน มะเร็งเต้านม -การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง -การสร้างความตระหนักผ่านสื่อและการประเมิน ดูแลผู้สูงอายุคุณภาพ -เบาหวาน/ ความดัน -โรคซึมเศร้า -เข่าเสื่อม -สุขภาพช่องปาก เด็กนักเรียนมีคุณภาพ 4 ด้าน -พัฒนาการ4ด้าน -เจริญเติบโต รูปร่าง/ส่วนสูง -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน คลินิก NCDคุณภาพ (ขยายครอบคลุมการตรวจภาวะแทรกซ้อน) คลินิกวัยรุ่น สถานบริการANC&LR คุณภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ คลินิกบริการผู้สูงอายุ WCC คุณภาพ การเข้าถึงบริการของหญิงตั้งครรภ์ ส่งเสริมบทบาทครอบครัวพ่อ- แม่ชุมชน พัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก สร้างระบบการดูแลช่วยเหลือ วัยรุ่น เริ่มที่โรงเรียน ลดปัจจัยเสี่ยง ปชก/ชุมชน แกนนำชุมชน อสม เข้มเข็ง อำเภอ/ตำบล80/ยังแจ๋ว

  27. รายละเอียดแผนสุขภาพเขต/จังหวัดรายละเอียดแผนสุขภาพเขต/จังหวัด 1. ภาพรวมของแผน (สภาพปัญหาในพื้นที่, งบรวมทุกหน่วย/ภาคส่วน, งบแยกรายแผน/งบบริหาร) 2. แผนแก้ไขปัญหา 25 แผน แต่ละแผนประกอบด้วย 2.1 ข้อมูล Baseline 2.2 กลยุทธ / มาตรการสำคัญ (สอดรับแผนกระทรวง) 2.3 งบประมาณที่กระจายลงแผนนั้น แยกตามหน่วยงาน 2.4 ผลลัพท์ตาม KPI ปล. 1) แผนแก้ไขปัญหา ให้จังหวัดจัดทำ ๑ ชุด ใช้ร่วมกัน 2) แผนปฏิบัติงานของหน่วยงาน ให้จัดทำแยกตามหน่วยงาน

  28. บทบาทของจังหวัดที่ปรับเปลี่ยนบทบาทของจังหวัดที่ปรับเปลี่ยน 1. มองการดูแลสุขภาพ บูรณาการกิจกรรมเป็นกลุ่มวัยแทนที่จะมองเป็นกิจกรรมแยกตามฝ่าย/หน่วยงาน 2. จังหวัดมีหน้าที่ กำกับดูแลการดำเนินงาน ทั้งหน่วยงานในสังกัด ท้องถิ่น และภาคส่วนอื่นๆ 3. ตัวชี้วัดเป็นเพียงสะท้อนผลลัพท์ แต่กระบวนการเป็นตัวส่งให้เกิดผลลัพท์ ความชัดเจนของมาตรการดำเนินงานจึงเป็นสิ่งสำคัญ 4. แผนสุขภาพ แตกต่างจาก แผนยุทธศาสตร์ในอดีต

  29. บทบาทของศูนย์เขตที่ควรปรับเปลี่ยนบทบาทของศูนย์เขตที่ควรปรับเปลี่ยน 1. ต้อง Proactive ในการจัดทำ แผนสุขภาพเขต โดยเฉพาะการวิเคราะห์ และให้ข้อเสนอแนะ 2. ทบทวน และสร้าง องค์ความรู้ เน้นที่ มาตรการที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาจริงในพื้นที่ 3. ออกแบบ ระบบงาน และ พัฒนาศักยภาพ ของผู้ปฏิบัติ เพื่อรองรับมาตรการ 4. มีหน้าที่ ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ของจังหวัดและอำเภอ

  30. โจทย์ของ คทง. ๘ กลุ่มวัย 1. การจัดทำแผนยุทธศาสตร์กลุ่มวัย • 1. การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ตามกลุ่มวัย ที่เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทประเทศไทย • 2. ขั้นตอนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 2. การติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน • กำหนดประเด็นคำถาม M&E ระดับเขต • รวบรวม วิเคราะห์ผลการติดตาม ประเมิน 3. การจัดทำข้อเสนอแนะ • สิทธิประโยชน์ที่คนไทยควรได้รับตามกลุ่มวัย และต้นทุนค่าใช้จ่าย • รูปแบบการดำเนินงาน และระบบงาน • การพัฒนาศักยภาพของหน่วยงาน

  31. เส้นทางอนาคต

More Related