580 likes | 864 Views
สถานการณ์เศรษฐกิจโลก. บรรยายแก่... CIMB Securities ดร. บันลือศักดิ์ ปุสสะรังษี สำนักวิจัย ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน) 23 สิงหาคม 2555. การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยหลังน้ำท่วมใหญ่ในปี 2554 วิกฤติยุโรปยังไม่มีทีท่าว่าจะจบลงง่ายๆ เศรษฐกิจจีนและสหรัฐฯ อ่อนแรงลง
E N D
สถานการณ์เศรษฐกิจโลก บรรยายแก่...CIMB Securities ดร. บันลือศักดิ์ ปุสสะรังษี สำนักวิจัย ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน) 23 สิงหาคม 2555
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยหลังน้ำท่วมใหญ่ในปี 2554 • วิกฤติยุโรปยังไม่มีทีท่าว่าจะจบลงง่ายๆ • เศรษฐกิจจีนและสหรัฐฯ อ่อนแรงลง • ปัจจัยที่ต้องติดตามในช่วงที่เหลือของปี 2555 2
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจหลังน้ำท่วม: เศรษฐกิจไทยขยายตัวค่อนข้างสูงในไตรมาสที่ 2 GDP รายไตรมาส GDP รายปี %,y-o-y %,y-o-y Consensus โดย Asian Wall Street Journal อยู่ที่ร้อยละ 3.25 ที่มา: สศช. ที่มา: สศช. 4
การขยายตัวมาจากการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน… ส่วนหนึ่งมาจาก Pent-up Demand มาตรการของรัฐฯ เช่นรถคันแรก อัตราการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชน ดัชนีการอุปโภคบริโภคและดัชนีการลงทุนภาคเอกชน %,y-o-y Index Index อัตราการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชน %,y-o-y
การใช้จ่ายภาครัฐเป็นปัจจัยเสริมให้เศรษฐกิจขยายตัวการใช้จ่ายภาครัฐเป็นปัจจัยเสริมให้เศรษฐกิจขยายตัว อัตราการขยายตัวของการบริโภคภาครัฐ อัตราการขยายตัวของการลงทุนภาครัฐ %,y-o-y %,y-o-y 6
การส่งออกถูกกระทบจากทั้งน้ำท่วมและวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรปการส่งออกถูกกระทบจากทั้งน้ำท่วมและวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรป อัตราการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าการส่งออกของไทยจำแนกตามประเทศคู่ค้า (อาเซียน, จีน, ยุโรป, ญี่ปุ่น, ตะวันออกกลาง และสหรัฐอเมริกา) : USD term %,y-o-y 7
การส่งออกถูกกระทบทั้งจากน้ำท่วมและวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรป (ต่อ) การส่งออกของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (USD Term) %,y-o-y 8
เงินเฟ้อชะลอตัวลง อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยที่อาจจะมีผลทำให้เงินเฟ้อพุ่งขึ้น เช่น ราคาน้ำมันและภาวะแห้งแล้งในสหรัฐฯ … กนง. ยังไม่ลดดอกเบี้ยในการประชุมครั้งต่อไป อัตราเงินเฟ้อทั่วไปและพื้นฐาน ราคาน้ำมันดิบ (Dubai) %,y-o-y USD/Barrel 9
เงินเฟ้อชะลอตัวลง อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยที่อาจจะมีผลทำให้เงินเฟ้อพุ่งขึ้น เช่น ราคาน้ำมันและภาวะแห้งแล้งในสหรัฐฯ … กนง. ยังไม่ลดดอกเบี้ยในการประชุมครั้งต่อไป (ต่อ) การคาดการณ์เงินเฟ้อในระยะ 12 เดือนข้างหน้า (มิถุนายน 2555) ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย 10
นโยบายด้านการคลัง: งบประมาณขาดดุลต่อเนื่องและหนี้สาธารณะเริ่มเพิ่มขึ้น ดุลงบประมาณ หนี้สาธารณะต่อ GDP ล้านบาท % to gdp ที่มา: สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง 11
นโยบายด้านการคลัง: การขาดดุลปีงบประมาณ 2555 ต่ำกว่าเป้าเล็กน้อย งบประมาณรายได้และผลจัดเก็บรายได้สุทธิ ผลต่างของงบประมาณรายได้และผลจัดเก็บรายได้สุทธิ ล้านบาท ล้านบาท ผลต่างของงบประมาณรายได้และผลจัดเก็บรายได้สุทธิ (9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555: ต.ค 54 - มิ.ย. 55) ล้านบาท 12
นโยบายด้านการคลัง: การขาดดุลปีงบประมาณ 2555 ไม่เป็นไปตามเป้า ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ผลต่างของการจัดเก็บรายได้สุทธิและการเบิกจ่ายงบประมาณ ล้านบาท ล้านบาท 13
นโยบายด้านการคลัง: มาตรการทางการคลัง ประชานิยมและกึ่งการคลังที่คาดว่าจะเป็นภาระในอนาคต • มาตรการทางการคลังที่สำคัญ เช่น • การลดภาษีรายได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เหลือร้อยละ 23 ในปี 2555 และลดลงเหลือร้อยละ 20 ในปี 2556 • มาตรการประชานิยมและกึ่งการคลัง เช่น • จำนำข้าว • บัตรเครดิตเกษตรกร • พักหนี้ครัวเรือนและเกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อย • กองทุนหมู่บ้านและ SML • โครงการ Tablet • โครงการบ้านหลังแรกและรถคันแรก 14
นโยบายด้านการคลัง: สัดส่วนของงบประมาณลงทุนลดลงอย่างต่อเนื่อง สัดส่วนของงบประมาณลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายทั้งหมด % 15
นโยบายด้านการคลัง: หนี้สาธารณะระดับใดจึงจะถือว่าไม่สูงเกินไป ประมาณการรายรับของรัฐบาลต่อ GDP มาตรฐานสากลของหนี้สาธารณะต่อ GDP ประเทศไทยมีรายรับทางการคลังต่ำกว่าประเทศพัฒนาแล้วมาก ทำให้หนี้สาธารณะที่ไม่เป็นปัญหาต่อ GDP ควรจะต่ำกว่ามาตรฐานของประเทศพัฒนาแล้ว % to GDP % to GDP หมายเหตุ: *=2554 **=2556 ***=2555
นโยบายด้านการคลัง: ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับนโยบายการคลังในปีที่ผ่านมา ช่องว่างการผลิต (Output Gap) • งบประมาณที่เกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมีน้อยมากเมื่อเทียบกับงบประมาณเกี่ยวกับประชานิยม • เน้นการเร่งอุปสงค์ในประเทศเพื่อให้เศรษฐกิจขยายตัวในอัตราที่สูงมากกว่าการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ซึ่งอาจจะไม่เหมาะกับสถานการณ์ในปี 2554 และต้นปี 2555 เพราะมี Output Gap ต่ำจากการขาดแคลนแรงงาน • ยังไม่มีการลงทุนใน Infrastructure อย่างจริงจังรวมถึงที่เกี่ยวกับการป้องกันน้ำท่วม • ไม่มีเป้าหมายและยุทธศาสตร์ของประเทศที่ชัดเจน ในการกำหนดนโยบายการคลัง ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย อัตราการว่างงานของไทย % 17 ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ
นโยบายด้านการคลัง: บทเรียนประชานิยมจากละตินอเมริกา 1970’s และ 1980’s, (Jeffrey Sachs) • ประเทศละตินอเมริกาหลายประเทศก่อนหน้าการใช้นโยบายประชานิยม มีการกระจายรายได้ที่เลวร้าย ความรุนแรงในความขัดแย้งเกี่ยวกับแรงงานอยู่ในระดับสูง และความขัดแย้งทางสังคมสูงทั้งระหว่างชนชั้นในสังคมที่แตกต่างกัน ภูมิภาคที่แตกต่างกัน และเชื้อชาติที่ต่างกัน • มีการนำนโยบายประชานิยมสุดโต่งมาใช้เพื่อบรรเทาความขัดแย้งทางสังคมและหวังผลประโยชน์ทางการเมือง • มีการใช้นโยบายประชานิยมโดยรัฐบาลที่มีความแตกต่างกัน • เผด็จการประธานาธิบดี Pinochet ของชิลี • รัฐบาลทหารของบราซิลในคริสต์ทศวรรษ 1970 • รัฐบาลฝ่ายซ้าย เช่น ประธานาธิบดี Allende ของ ชิลี 18
นโยบายด้านการคลัง: บทเรียนประชานิยมจากละตินอเมริกา 1970’s และ 1980’s, (Jeffrey Sachs) (ต่อ) • นโยบายประชานิยมเป็นนโยบายสุดโต่งมี 2 แบบด้วยกัน • นโยบายประชานิยมโดยตรงแบบสุดโต่ง • นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจโดยไม่รักษาวินัยการคลัง • มาตรการเกี่ยวกับการกระจายรายได้ • มีแต่นโยบาย Distribution of Income หรือการสร้างรายได้แก่ประชาชนที่ด้อยโอกาส • ไม่มีนโยบาย Redistribution of Income หรือการกระจายรายได้จากคนรวยไปสู่คนจน • หลังจากการใช้นโยบายประชานิยมและการกระจายรายได้แนวทางนี้ ช่องว่างระหว่างรายได้ไม่ได้ลดลง 19
นโยบายด้านการคลัง: บทเรียนประชานิยมจากละตินอเมริกา 1970’s และ 1980’s, (Jeffrey Sachs) (ต่อ) • การใช้นโยบายประชานิยมสุดโต่งส่วนใหญ่เป็นการใช้ในระยะสั้นๆ • ชิลี 1972-73 • อาร์เจนตินา 1946-48 • บราซิล 1985-88 • เปรู 1985-89 • สถานการณ์ของการใช้นโยบายประชานิยมแบบสุดโต่ง • ในช่วงต้นของนโยบายส่วนใหญ่เศรษฐกิจขยายตัวดี ค่าจ้างแท้จริง (Real Wage) เพิ่มขึ้น เงินเฟ้อต่ำ และค่าเงินมีเสถียรภาพ • ช่วงที่ 2 เศรษฐกิจถดถอย และ Real Wage ลดลง • ช่วงสุดท้ายเกิดการล่มสลายของระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่เพราะขาดดุลบัญชีเดินสะพัดสูงทำให้เงินสำรองระหว่างประเทศหมด และประเทศไม่สามารถเข้าถึงตลาดการเงินระหว่างประเทศ 20
ประเทศที่มีความสามารถในการแข่งขันที่ต่างกันมากแต่ใช้เงินสกุลเดียวกันและขาดกลไกในการปรับตัวประเทศที่มีความสามารถในการแข่งขันที่ต่างกันมากแต่ใช้เงินสกุลเดียวกันและขาดกลไกในการปรับตัว มีความแตกต่างระหว่างการปรับความสมดุลของสหรัฐฯ และยุโรป ใช้ค่าเงินในการปรับตัวรักษาขีดความสามารถในการแข่งขัน ประเทศที่ใช้เงินต่างสกุลกัน • ใช้อัตราเงินเฟ้อที่ต่างกันเพื่อปรับ Real Wage • ใช้การชดเชยทางการคลังโดยรัฐที่เจริญกว่าจ่ายเงินให้รัฐที่เจริญน้อยกว่าผ่านระบบ การคลัง Revenue Sharing • รัฐบาลกลางช่วยเหลือกรณีวิกฤติเช่นการแตกของฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์และวิกฤติสถาบันการเงินในรัฐ Texas ประเทศที่มีหลายมลรัฐที่มีความสามารถในการแข่งขันที่ต่างกัน (เช่นประเทศสหรัฐฯ) 22
มาตรการสำคัญ จากการประชุม EUSummit วันที่ 28-29 มิถุนายน 2555 • มาตรการระยะสั้น • ให้กองทุน ESM (หรือ EFSF)เพิ่มทุนให้ธนาคารพาณิชย์ได้โดยตรง ไม่ต้องให้รัฐบาลกู้ • ให้กองทุน ESM (หรือ EFSF)ยืดหยุ่นในการซื้อพันธบัตรรัฐบาลมากขึ้น (คาดว่าจะมีความชัดเจนในเดือนตุลาคม) • หนี้ที่มีต่อ ESM (หรือ EFSF) ไม่ได้สิทธิพิเศษเหนือเจ้าหนี้อื่น • ระยะปานกลาง • จัดตั้งสถาบันกำกับดูแลสถาบันการเงินทั้ง Euro Zone (ตั้งเป้าว่าจะทำได้ในเดือนตุลาคม) • จัดตั้ง Fiscal Union โดยมีองค์กรดูแลงบประมาณของประเทศสมาชิก • ออก Euro Bond ทดแทนพันธบัตรของรัฐบาลแต่ละประเทศ “ภายหลังการจัดตั้ง Fiscal Union” มาตรการระยะสั้นเกือบทั้งหมดขึ้นอยู่กับมาตรการระยะปานกลาง อัดฉีดเงิน 120,000 ล้านยูโรเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ? 23
มาตรการที่ออกมาบรรเทาปัญหาระยะสั้นได้ค่อนข้างดี: มาตรการระยะสั้นแก้ปัญหาได้บางส่วน ระยะสั้น การประชุม EU Summit ให้ ESM ซื้อได้บางส่วนเป็นหลักการเบื้องต้น คาดว่าจะได้ข้อสรุปในเดือนตุลาคม ECB ซื้อพันธบัตรรัฐบาล PIIGS อย่างไม่จำกัด ลด Yield ของพันธบัตรรัฐบาล PIIGS ECB ค้ำประกันเงินฝากทั้งระบบ (ถ้าจำเป็น) ECB ให้ธนาคารกู้อย่างไม่จำกัดโดยมีหลักทรัพย์ค้ำประกัน รวมถึง LTRO 3 ESM หรือ EFSF เพิ่มทุนให้กับธนาคารพาณิชย์โดยตรง ไม่ผ่านประเทศ กองทุน ESM และ EFSF ไม่ได้สิทธิพิเศษเหนือเจ้าหนี้อื่น • 1 และ 2 เป็นไปได้ยากมากเพราะทุน ECB ต่ำและเยอรมนีคัดค้าน • การประชุม EU Summit ล่าสุดได้เห็นชอบ 3 และ 4 สร้างความมั่นใจที่มีต่อธนาคารพาณิชย์และไม่ให้เกิด Bank Run ไม่ให้เกิดการไหลออกของเงินทุนจากประเทศ PIIGS เป็นไปได้ถ้ารัฐบาลต้องการและจำเป็น Capital Control (ถ้าจำเป็น)
มาตรการที่ออกมาบรรเทาปัญหาระยะสั้นได้ค่อนข้างดี: มาตรการซื้อพันธบัตรรัฐบาลอาจจะมีปัญหาเหมือน LTRO ที่สถาบันการเงินถือโอกาสขายพันธบัตรรัฐบาลที่มีปัญหา ระยะสั้น (ต่อ) ซื้อพันธบัตรรัฐบาล PIIGS รัฐบาล PIIGS ธนาคารของประเทศ PIIGS หลักทรัพย์ค้ำประกัน รวมพันธบัตรรัฐบาล PIIGS ซื้อพันธบัตรรัฐบาล PIIGS เงินทุน เงินทุน ธนาคารลูกใน PIIGS ECB คืนหนี้โดยใช้เงินกู้จาก ECB หลักทรัพย์ค้ำประกัน รวมพันธบัตรรัฐบาล PIIGS ธนาคารแม่ 25
มาตรการระยะปานกลางทำได้ค่อนข้างยากและต้องใช้เวลา: การรวมศูนย์ในการกำกับดูแลสถาบันการเงินแม้ว่าจะทำได้แต่ต้องใช้เวลานานในการนำไปปฏิบัติ ระยะปานกลาง การกำกับดูแลสถาบันการเงิน สามารถทำได้แต่ต้องใช้เวลาประมาณ 1 ปีเป็นอย่างน้อย /กฎระเบียบแตกต่างกันมาก แต่การเพิ่มทุนยังมีปัญหา • ปัญหาธนาคารพาณิชย์มีสาขาทั้งยุโรป แต่การกำกับดูแลทำโดยแต่ละประเทศเป็นหลัก • ธนาคารต้องเพิ่มทุนอีกมาก การรวมศูนย์ในการกำกับดูแลสถาบันการเงิน 26
มาตรการระยะปานกลางทำได้ค่อนข้างยากและต้องใช้เวลา: ต้องมีการตั้ง Fiscal Union ก่อนการออก Euro Bond แต่มีข้อจำกัดทางการเมืองทำให้เป็นไปได้ยาก ระยะปานกลาง ต้องตั้ง Fiscal Union ก่อน ซึ่งเป็นไปได้ยาก Yield ของพันธบัตรรัฐบาลประเทศ PIIGS สูงมากจนไม่สามารถชำระหนี้ได้ Euro Bond • การตั้ง Fiscal Union ต้องขออนุมัติจากรัฐสภา และมีแนวโน้มว่าจะต้องขอประชามติจากประชาชน ซึ่งเป็นไปได้ยาก • Fiscal Union ยังไม่ได้สร้างกลไกแก้ปัญหาการขาดสมดุลของประเทศที่ขีดความสามารถการแข่งขันต่ำ 27
มาตรการระยะปานกลางทำได้ค่อนข้างยากและต้องใช้เวลา: ต้องมีการตั้ง Fiscal Union ก่อนการออก Euro Bond แต่มีข้อจำกัดทางการเมืองทำให้เป็นไปได้ยาก (ต่อ) กระแสความนิยมในการเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปลดลงอย่างต่อเนื่อง ที่มา: The Economist 28
มาตรการระยะปานกลางทำได้ค่อนข้างยากและต้องใช้เวลา: ต้องมีการตั้ง Fiscal Union ก่อนการออก Euro Bond แต่มีข้อจำกัดทางการเมืองทำให้เป็นไปได้ยาก(ต่อ) ความสนใจในการเลือกตั้งสมาชิกสภาสหภาพยุโรปลดลงต่อเนื่อง ทีมา: The Economist 29
มาตรการระปานกลางทำได้ค่อนข้างยากและต้องใช้เวลา: ต้องมีการตั้ง Fiscal Union ก่อนการออก Euro Bond แต่มีข้อจำกัดทางการเมืองทำให้เป็นไปได้ยาก(ต่อ) ในอดีตมีหลายประเทศมีปัญหาในการลงประชามติเกี่ยวกับข้อตกลงของสหภาพยุโรป 30
ปัญหาไม่ใช่เพียงหนี้สาธารณะแต่เป็นปัญหาโครงสร้างที่ไม่มีแนวทางแก้ไขที่ชัดเจน: มีความจำเป็นที่ประเทศ PIIGS ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อให้สามารถที่จะแข่งขันกับประเทศที่ใช้เงินยูโรได้แต่ประเทศ PIIGS ยังไม่ได้ทำตามที่ตกลง ความแตกต่างในการแข่งขันของประเทศสมาชิก Euro zone ในระดับสูง ระยะยาว ในทางการเมืองเป็นไปได้ยาก เช่นประเทศกรีซยังไม่ยอมแก้ไขกฎหมายต่างๆ และอิตาลียังไม่ยอมแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับแรงงาน ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจโดยเฉพาะตลาดแรงงาน 31
วิกฤติที่เกิดขึ้นส่งผลให้เศรษฐกิจ Euro Zone หดตัวหลายไตรมาส อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ EU-17 %,q-o-q อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจฝรั่งเศส อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจเยอรมนี %,q-o-q %,q-o-q 32
วิกฤติที่เกิดขึ้นส่งผลให้เศรษฐกิจ Euro Zone หดตัวหลายไตรมาส (ต่อ) อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจกรีซ อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไอร์แลนด์ %,y-o-y %,q-o-q อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโปรตุเกส อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจอิตาลี อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจสเปน %,q-o-q %,q-o-q %,q-o-q 33
วิกฤติทำให้การบริโภคลดลงหรือชะลอตัวลงในหลายด้านวิกฤติทำให้การบริโภคลดลงหรือชะลอตัวลงในหลายด้าน ที่มา: WSJ 34
เศรษฐกิจจีนและสหรัฐฯ อ่อนแรงลง
เศรษฐกิจจีน …แม้ว่าธนาคารกลางจีนปรับลด Required Reserve Ratio และมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจแต่สินเชื่อขยายตัวในอัตราที่ลดลง และการส่งออกชะลอตัวลง GDP รายไตรมาสของจีน %,y-o-y 36
การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน: การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนที่เน้นการลงทุนไม่สามารถที่จะเป็นไปได้อย่างต่อเนื่องในระยะยาว สัดส่วนการลงทุนต่อ GDP ของประเทศจีน ไทย มาเลเซีย เกาหลีใต้ และอินโดนีเซีย % 37
การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน: แม้ว่าธนาคารกลางจีนปรับลด Required Reserve Ratio และมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจแต่สินเชื่อขยายตัวในอัตราที่ลดลง และการส่งออกชะลอตัวลง (ต่อ) อัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออก (USD Term) อัตราการขยายตัวของสินเชื่อ (Loan Growth) %, y-o-y %, y-o-y ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ ภาคอุตสาหกรรมโดย HSBC 38 ที่มา: Markit, HSBC.
เศรษฐกิจจีน…ตลาดแรงงานตึงตัวทำให้ไม่มีปัญหาการว่างงาน ดังนั้นรัฐบาลจีนยังไม่มีความจำเป็นที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจเหมือนปี 2551/52 ประมาณการจำนวนประชากรที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี (Population aged 15-19, estimated) สัดส่วนของตำแหน่งงานว่างต่อผู้กำลังหางาน* (Ratio of job vacancies to job seekers) ล้านคน % *A ratio higher than 1 indicates excess demand for workers ที่มา: WSJ, CEIC, National Bureau of statistics, Ministry of Human Resources and Social Security, and United Nations 39
เศรษฐกิจจีนได้ผ่านระยะการขยายตัวสูง: FDI เริ่มลดลงจากปัญหา Excess Capacity และวิกฤติยุโรป %การเปลี่ยนแปลงของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment) Mil.USD %,y-o-y ที่มา: CEIC Data and Ministry of Commerce 40
เศรษฐกิจจีนได้ผ่านระยะการขยายตัวสูง: Foreign Reserve ก็เริ่มชะลอลง เงินสำรองระหว่างประเทศ bil.USD 41
รัฐบาลจีนกระตุ้นเศรษฐกิจแต่ไม่มากเหมือนปี 2551 – 2552 Major investment project approvals Required Reserve Ratio Unit % 42
จำนวนประชากรของจีนที่อยู่ในเมืองมากกว่าในชนบททำให้การเพิ่มของ Urbanization ที่เป็นปัจจัยสำคัญในการเพิ่มอุปสงค์ในประเทศจะชะลอลงในอนาคต 43
ตัวแปรทางเศรษฐกิจอื่นๆ ก็ชี้ว่าเศรษฐกิจจีนจะชะลอตัวลง New floor space under development, change from a year earlier การเปลี่ยนแปลงของผลผลิตภาคอุตสาหกรรม %, y-o-y ส่งออกจีนไป EU, change from a year earlier 44
ความยั่งยืนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ: เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวในอัตราที่ลดลง อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ %,q-o-q: annual rate 45
ความยั่งยืนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ: การฟื้นตัวเกิดจากการบริโภคและการส่งออก อัตราการขยายตัวของอุปสงค์แบ่งตามประเภทปี 2554 %,q-o-q: annual rate การลงทุนในเครื่องมือเครื่องจักรภาคเอกชน การใช้จ่ายในการบริโภคภาคเอกชน การใช้จ่ายภาครัฐฯ การส่งออก 46
ความยั่งยืนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ: การบริโภคชะลอตัวลง ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคโดยสำนัก Conference Board การบริโภคส่วนบุคคล (PCE) index %,y-o-y ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคโดยรอยเตอร์ส/มหาวิทยาลัยมิชิแกน index 47
ความยั่งยืนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ: การจ้างงานเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงและอัตราการว่างงานยังอยู่ในระดับสูงมาก …การบริโภคมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลงไปอีก การเปลี่ยนแปลงของยอดการจ้างงานนอกภาคการเกษตร ราย อัตราการว่างงาน % 48
ความยั่งยืนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ: หนี้สาธารณะกลายเป็นปัญหาสำคัญของประเทศสหรัฐฯ มูลค่าหนี้สาธารณะต่อ GDP % • ภายหลังวิกฤติการเงินปี 2551/2 สหรัฐฯ ขาดดุลงบประมาณอย่างไม่เคยมีมาก่อน • รายรับลดลง • รายจ่ายกระตุ้นเศรษฐกิจสูงขึ้น • รายจ่ายด้านสวัสดิการสังคมสูงขึ้น • แม้ว่าสภาสูงและสภาล่างตกลงให้ต่ออายุการชดเชยการว่างงานและการลดภาษีรายได้จากค่าจ้างไปถึงสิ้นปี 2555 แต่อาจจะมีการตัดงบประมาณอื่นทดแทน • อาจจะมีการตัดการใช้จ่ายภาครัฐประมาณปีละ 120,000 ล้าน USD ต่อปี เริ่มปีงบประมาณ 2556 • วิกฤติเพดานหนี้ของสหรัฐฯ อาจจะกลับมาอีก ดุลงบประมาณสหรัฐฯ ล้าน USD *Congressional Budget Office