1 / 15

๒. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม- อะไร และ อย่างไร

๒. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม- อะไร และ อย่างไร.

hyman
Download Presentation

๒. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม- อะไร และ อย่างไร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ๒. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม- อะไร และ อย่างไร การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  2. การวิจัยและการพัฒนาที่มีลักษณะบูรณาการและอาศัยการมีส่วนร่วมของฝ่ายต่างๆ เป็นสิ่งที่ต้องการสำหรับ การจัดการเหตุปัจจัยอันสลับซับซ้อนของปัญหาสาธารณสุข (โดยเฉพาะพวกเหตุปัจจัยที่เกี่ยวกับปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสุขภาพของเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ต่างๆ)more comprehensive and participatory approaches to research and interventions are needed to address the complexsets of determinants associated with public health problems (especially those associated with racial and ethnic disparities in health) การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  3. Partnership Approachthe different terms • Participatory research • Participatory action research- PAR • Action research • Participatory Feminist research • Action/science inquiry • Cooperative inquiry • Critical action research • Empowerment evaluation • Community-based participatory research- CBPR การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  4. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม PAR & CBPR การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  5. ความแตกต่างคืออำนาจ Community Outside researcher P o w e r P o w e r Conventional research CBPR PAR การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  6. Principles of PAR/CBPR Source: Israel et al. (2005) Methods in CBPR on Health การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  7. CBPR is intended to bring together researchers and communities to establish trust, share power, foster co-learning, enhancestrengths and resources, buildcapacity, and examine and address community-identifiedneeds and health problems. Source: Israel et al. (2005) Methods in CBPR on Health การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  8. CBPR มองชุมชน หมายถึงมากกว่าชุมชนกายภาพ แต่คือชุมชนทางอัตตลักษณ์ ที่เชื่อมกันด้วยสำนึกความเป็นพวกเดียวกัน มีอารมณ์ความรู้สึก ยึดถือในบรรทัดฐาน คุณค่าเดียวกัน มีผลประโยชน์ร่วมกัน แม้หลายครั้งจะอยู่กระจัดกระจายกันในเชิงกายภาพ CBPR acknowledges community as a unit of identity identified by a sense of identification with and emotional connection to other through common symbol systems, values, and norms, shared interest and commitments to meeting mutual needs. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  9. CBPR ทำงานโดยอาศัยความเข้มแข็งและทรัพยากรที่มีในหรือจากชุมชน ไม่ว่าจะเป็นทักษะความรู้ความสามารถเฉพาะตัวของบุคคล เครือข่ายทางสังคม และ องค์กร ในการจัดการกับปัญหาที่เห็นร่วมกัน CBPR builds on strengths and resources within the community. It recognizes and builds on strengths, resources, and assets that exist within communities of identity (individual skills, social networking, and organization) in order to address identified concerns. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  10. CBPR facilitates a collaborative, equitable partnership in all phases of research, involving an empowering and power-sharing process that attends to social inequalities • To the extent possible, all partners participate in and share decision making and control over all stages of the research process (defining problem, collecting and interpreting data, disseminating findings, applying results). • Researchers involved recognize the inequalities between researchers and community partners and attempt to address these inequalities through developing relationships based on trust and mutual respect and by creating an empowering process that involves open communication and sharing information, decision making power and resources การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  11. CBPR fosters co-learning and capacity building among all partners CBPR is a co-learning process that fosters the reciprocal exchange of skills, knowledge, and capacity among all partners involved, recognizing that all parties bring diverse skills and expertise and different perspectives and experiences to the partnership process. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  12. CBPR ผสานและมุ่งสู่ความสมดุลระหว่างการสร้างและการใช้ความรู้ เพื่อยังประโยชน์ให้กับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง CBPR integrates and achieves a balance between knowledge generations and intervention for the mutual benefit of all partners. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  13. CBPR focuses on the localrelevance of public health problems and on ecologicalperspectives that attend to the multiple determinants of heath CBPR เน้นจัดการกับปัญหาสุขภาพ ที่เป็นปัญหาของชุมชน ด้วยกรอบทัศนะเชิงระบบที่ครอบคลุมสาเหตุต่างๆของปัญหาในทุกระดับ ด้วยทีมแบบสหประสบการณ์ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  14. CBPR เน้นกระบวนการพัฒนาเชิงระบบ ด้วยกิจกรรมแบบครบวงจร และซ้ำๆ CBPR ใช้แนวคิดการพัฒนาเชิงระบบ เป็นวงจรของกิจกรรมการพัฒนา จาก community assessment, problem identification, research design, data collection and analysis, data interpretation, dissemination, determination of intervention and policy strategies, and action taking การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

  15. CBPR involves a long-term process of commitment to sustainability To establish and maintain trust necessary for the success of CBPR; to achieve the aims of addressing multiple determinant of health; Frequently extends beyond a single project or funding period การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (๑๕-๑๙ ก.ย. ๒๕๕๑)

More Related