260 likes | 532 Views
ระบบห้องสมุดเพื่อการพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยี. “ Jindamanee ” open source integrated library system. ถิรนันท์ ดำรงค์สอน อภิยศ เหรียญวิพัฒน์ ดลนภา แว่วศรี สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ระบบห้องสมุดจินดามณี. ระบบห้องสมุด อัตโนมัติ แบบเปิดเผยรหัสของไทย พัฒนาต่อยอดมาจากระบบ Koha
E N D
ระบบห้องสมุดเพื่อการพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยีระบบห้องสมุดเพื่อการพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยี “Jindamanee” open source integrated library system ถิรนันท์ ดำรงค์สอน อภิยศ เหรียญวิพัฒน์ ดลนภา แว่วศรีสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบห้องสมุดจินดามณี • ระบบห้องสมุดอัตโนมัติแบบเปิดเผยรหัสของไทย • พัฒนาต่อยอดมาจากระบบKoha • เป็นซอฟต์แวร์ห้องสมุดอัตโนมัติแบบเปิดเผยรหัสระบบแรกของโลก • มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว โดยผู้พัฒนาจากทั่วโลก • มีผู้ใช้งานเป็นจำนวนมาก • ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Koha • http://koha-community.org/ • http://wiki.koha-community.org/wiki/Main_Page • http://www.koha.org/
วัตถุประสงค์ • เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระบบห้องสมุดอัตโนมัติแบบเปิดเผยรหัสกับระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ • เพื่อพัฒนาระบบและทดลองใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ • ติดตั้งระบบ • ศึกษาและทดสอบระบบโดยรวม และระบบงานพื้นฐาน ได้แก่ OPAC, Circulation, Patrons, Cataloging และ Administration • ทดสอบถ่ายโอนข้อมูลจากระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ • ศึกษาและทดสอบระบบเพิ่มเติม ได้แก่ Serials, Acquisition และ Report • ติดตั้งและทดสอบ SIP2 เชื่อมต่อสำหรับอุปกรณ์ RFID • จัดทำเอกสารคู่มือการใช้งานระบบ และจัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ • ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ระบบ และจัดกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา • ประเมินผลการใช้งานระบบ • กำหนดแนวทางการพัฒนาระบบเพื่อใช้ประโยชน์ในอนาคต
ผลการศึกษา สรุปจุดเด่นและข้อจำกัดของระบบ Koha
โมดูล Admin สำหรับผู้ดูแลระบบ
สรุปข้อดีและข้อจำกัดของโมดูล Administration
สรุปข้อดีและข้อจำกัดของโมดูล Cataloging
สรุปข้อดีและข้อจำกัดของโมดูล Circulation
สรุปข้อดีและข้อจำกัดของโมดูล Patron
ตารางเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย (เฉพาะค่าติดตั้งและบำรุงรักษาระบบ) ** อัตราแลกเปลี่ยน 1$ = 30 บาท ข้อมูลจากบริษัท Liblimeปี 2011 ที่มา : http://www.liblime.com/contact
ปี 2549 ปี 2553 การนำไปใช้ประโยชน์ ห้องสมุด Eco library มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ห้องสมุดศูนย์ความรู้ด้านการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปี 2556 ปี 2557 การนำไปใช้ประโยชน์ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต สปป.ลาว ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ วัดปัญญานันทาราม
เว็บไซต์ระบบห้องสมุดจินดามณีเว็บไซต์ระบบห้องสมุดจินดามณี http://jindamanee.lib.ku.ac.th/
ตัวอย่างห้องสมุดที่ใช้ระบบ Kohaในประเทศไทย • ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ศูนย์สารนิเทศทางอาหาร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร • สถานีโทรทัศน์ Thai PBS • สถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 • กรมชลประทาน • สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์
ผลการประเมินความพึงพอใจการใช้ระบบห้องสมุดจินดามณี Eco-library • ผู้ตอบแบบประเมินจำนวน 123 คน • โดยภาพรวมมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับดี ค่าเฉลี่ย 4.17 (ร้อยละ 83.44) • ประเด็นที่มีระดับความพึงพอใจสูงที่สุด 3 อันดับแรกคือ • ระบบใช้งานง่าย สะดวก และไม่ซับซ้อน ค่าเฉลี่ย 4.38 (ร้อยละ 87.64) • ระบบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ค่าเฉลี่ย4.26 (ร้อยละ 85.20) • ความสะดวกในการใช้งาน ค่าเฉลี่ย 4.24 (ร้อยละ 84.72)
คณะทำงานพัฒนาระบบห้องสมุดจินดามณีคณะทำงานพัฒนาระบบห้องสมุดจินดามณี
สรุป • “ระบบจินดามณี” เป็นระบบห้องสมุดแบบเปิดเผยรหัสของไทย ที่พัฒนาต่อยอดมาจากระบบ Koha • จุดเด่นที่น่าสนใจของ Kohaคือมีฟังก์ชั่นการทำงานโมดูลต่างๆครบสมบูรณ์ สามารถพัฒนาเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับความต้องการของแต่ละห้องสมุดได้ รองรับการทำงานของห้องสมุดตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ • สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ศึกษาและพัฒนาระบบห้องสมุดจินดามณีขึ้น โดยทดลองใช้บริหารจัดการและให้บริการทรัพยากรในห้องสมุดศูนย์ความรู้ด้านการเกษตร ตั้งแต่ปี 2549 และติดตั้งระบบในห้องสมุด Eco library ในปี 2553 • ระบบจินดามณีสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ ดังนั้นจึงมีแผนการพัฒนาระบบห้องสมุดจินดามณีเพิ่มเติม เพื่อเป็นระบบสำรองหรือทดแทนระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ต่อไปในอนาคต
รายการอ้างอิง • ถิรนันท์ ดำรงค์สอน, ดลนภา แว่วศรี และอภิยศ เหรียญวิพัฒน์. (2556). “ระบบห้องสมุดจินดามณี” เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ WUNCA ครั้งที่ 26. สกลนคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติสกลนคร. • วันเพ็ญ ศรีจันทร์กุล, อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ, ถิรนันท์ ดำรงค์สอน, วสุเทพ ขุนทอง, พุฒิพงษ์ ยองทอง, พิศิษฐ์ โสมวดี, และสุพรรณี หงษ์ทอง. (2553).การพัฒนาและประยุกต์ใช้ระบบห้องสมุดแบบเปิดเผยรหัสภาษาไทยเพื่อการพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. • อัศนีย์ ก่อตระกูล, สมโชค เรืองอิทธินันท์ และอารีย์ ธัญกิจจานุกิจ. (2549).การศึกษาความเป็นไปได้เชิงเทคนิคและการออกแบบเชิงสถาปัตยกรรม สำหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์ห้องสมุดแบบเปิดเผยรหัส. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. • Brown D., Wolbers F., Usiondek N., Quigley P., & Jaccarino P. (2010). KOHA Manual. Retrieved 2011, fromhttp://koha-community.org/files/2010/02/wayne-state-university-koha-3.0-reference-manual.pdf • Liblime. (2011). LibLime is the global leader in Koha support. Retrieved 11 30, 2011, from http://www.liblime.com/contact