180 likes | 875 Views
Hypo alemia. นศ.ภ.มนสิชา บัวอ่อน รหัส 4710095 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Ambulatory Care ผลัดที่ 3/2552 19/06/52. Hypokalemia category. Etilogy. Poor dietary intake Excessive renal loss Excessive gastrointestinal loss: diarrhea, vomiting
E N D
Hypo alemia นศ.ภ.มนสิชา บัวอ่อน รหัส 4710095 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Ambulatory Care ผลัดที่ 3/2552 19/06/52
Etilogy • Poor dietary intake • Excessive renal loss • Excessive gastrointestinal loss: diarrhea, vomiting • Hypomagnesemia: Na+-K+ ATPase pump impaired • Drugs
Drug-Induced Hypokalemia • 3 Mechanisms • Intracellular potassium shifting • Enhanced renal excretion • Enhanced fecal elimination: sodium polystyrene sulfonate, phenolphthalein, sorbitol
Intracellular potassium shifting • β2-Receptor agonists: epinephrine, salmeterol • Theophylline • Caffeine • Insulin overdose
Enhanced renal excretion • Diurtics: loop, thiazides • High dose penicillins: penicillin, ampicillin • Mineralocorticoids miscellaneous: aminoglycosides, amphotericin B, cisplatin
อาการและอาการแสดงของภาวะ hypokalemia • ผลต่อระบบหัวใจ: ลดความสูงของ T wave, ความดันโลหิตต่ำ, PR prolong, QRS กว้างขึ้น, จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ • ผลต่อระบบต่อมไร้ท่อ: ลดการหลั่ง aldosterone ลดการหลั่ง insulin • ผลต่อระบบประสาทและกล้ามเนื้อ: ไม่มี reflex, กล้ามเนื้ออ่อนแรงและปวด • อาการอื่นๆ ได้แก่ อ่อนเพลีย, ง่วงซึม, สับสน
Treatment • 3.5-4 mEq/L → • Nonpharmacologic therapy: dietary intake of K-rich foods • 3-3.5 mEq/L → • Nonpharmacologic/Pharmacologic therapy • Underlying cardiac conditions that predispose them to cardiac arrhythmias • Receiving concomitant digoxin therapy • < 3 mEq/L should keep K 4-4.5 mEq/L
Pharmacologic therapy • Oral potassium supplementation • Intravenous potassium supplementation • severe K depletion • intolerant to oral supplementation
Calculation • mEq = mg x valency/(Formula weight ) • กรณีของ KCL 10% หมายถึง สารละลาย 100 mLมี K 10 g • MW KCl = 39.1 + 35.4 = 74.5 • K valency =1 • จากสูตรคิดเป็น = 10x 1000/74.5 = 134 mEq/100 mL • ดังนั้น 15 mLมี K = (134 x 15)/100 = 20 mEq
10% KCl Elixer (20 mEq/15 ml) • Ped KCl (2%) (4 mEq/15 ml)
Every 1 mEq/L ↓K below 3.5 mEq/L = total body potassium deficit of 100-400 mEq • ให้ 40-100 mEq of K → mild-moderate K deficits • Doses up to 120 mEq of K → severe K deficits
Case 1 1001431 ผู้ป่วยได้รับ KCl 30 cc q 6 hr x2 doses มีความเหมาะสมหรือไม่ วันที่ 17/6/52 ผู้ป่วยมีค่า lab: serum K = 3.1 KCl ที่ผู้ป่วยได้รับคือ 10% KCl elixir (20 mEq/15 ml) ทั้งหมด 60 ml ซึ่งจะทำให้ระดับ serum K เพิ่มขึ้นอีก 0.3-0.8 mEq/ml ดังนั้นผู้ป่วยจะมี serum K เพิ่มขึ้นเป็น 3.4-3.9 mEq/ml ซึ่งก็ถือว่าเหมาะสม
Case 2 440589 ผู้ป่วยได้รับ KCl 30 cc qid x1 day วันนี้แพทย์ได้สั่งห้ามไม่ให้ผู้ป่วยรับประทาน HCTZ เนื่องจากผู้ป่วยเคยได้รับยาแล้วเกิด hypokalemiaซึ่งแพทย์ก็เคยสั่งให้หยุดยาแล้วแต่ผู้ป่วยไปรับ HCTZ จากสถานพยาบาลอื่น จึงมาด้วย hypokalemiaในครั้งนี้ PH: 7/4/52: ผู้ป่วยเริ่มรับประทาน HCTZ; serum K = 4.8 mEq/ml 19/5/52: serum K = 2.5 mEq/ml แพทย์สั่งหยุด HCTZ 17/6/52: serum K = 1.9 mEq/ml
Case 2 • KCl ที่ผู้ป่วยได้รับคือ 10% KCl elixir (20 mEq/15 ml) ทั้งหมด 120 ml (160 mEq) • ทำให้ระดับ serum K เพิ่มขึ้นอีก 0.4-1.6 mEq/ml • ดังนั้นผู้ป่วยจะมี serum K เพิ่มขึ้นเป็น 2.3-3.5 mEq/ml ซึ่งก็ถือว่าเหมาะสม อย่างไรก็ตามควรมีการติดตามค่า serum K ของผู้ป่วยด้วย
Reference • Joseph T. DiPiro, Robert L. Talbert, Gary C. Yee, Gary R. Matzke, Barbara G. Wells, L. Michael Posey. Pharmacotherapy A Pathophysiologic Approach. 7th ed. New York: McGraw-Hill; 2008. p.878-81.