430 likes | 604 Views
การประชุมเชิงปฏิบัติการ. การบริหารผลการปฏิบัติงานสำหรับลูกจ้างประจำและพนักงานราชการ. ครั้งที่ 1 วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม 2554. ณ โรงแรมแกรนด์ ทาวเวอร์อินน์ กรุงเทพมหานคร. กองการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายบำเหน็จความชอบและข้อมูลบุคคล โทร. / โทรสาร 0 2247 6604 โทร.ภายใน 408. ลำดับขั้นการชี้แจง.
E N D
การประชุมเชิงปฏิบัติการการประชุมเชิงปฏิบัติการ การบริหารผลการปฏิบัติงานสำหรับลูกจ้างประจำและพนักงานราชการ ครั้งที่ 1 วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมแกรนด์ ทาวเวอร์อินน์ กรุงเทพมหานคร
กองการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายบำเหน็จความชอบและข้อมูลบุคคล โทร./โทรสาร 0 2247 6604 โทร.ภายใน 408
ลำดับขั้นการชี้แจง ช่วงที่ 1 : 09.00– 10.30 น.
ลำดับขั้นการชี้แจง ช่วงที่ 2 : 10.45– 12.00 น.
ลำดับขั้นการชี้แจง ช่วงที่ 3 : 13.00– 14.30 น.
ลำดับขั้นการชี้แจง ช่วงที่ 4 : 14.45– 16.30 น.
ภาพรวมการบริหารผลการปฏิบัติราชการภาพรวมการบริหารผลการปฏิบัติราชการ 3 1 ช่วงที่ 1 : เริ่มรอบการประเมิน ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน มอบหมายตัวชี้วัด ลงนามรับทราบตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 2 ก.ย. ต.ค. 1 2 ส.ค. 2 พ.ย. 2 2 ก.ค. ธ.ค. ช่วงที่ 2 : ระหว่างรอบการประเมิน ติดตามความก้าวหน้า ปรับปรุง พัฒนางาน ม.ค. มิ.ย. 2 2 ช่วงที่ 3 : ครบรอบการประเมิน ประเมินผล จัดทำประกาศ พิจารณาเลื่อนเงินเดือน ก.พ. พ.ค. 2 เม.ย. มี.ค. 2 2 1 3
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ระดับ ผอ.หน่วยงาน กรมแจ้งตัวชี้วัด เจรจาตัวชี้วัด ประกาศตัวชี้วัดหลังการเจรจา กำหนดตัวชี้วัด ระดับบุคคล จัดทำตัวชี้วัดระดับบุคคลทุกคน ข้าราชการบันทึกตัวชี้วัดใน DPIS 1 2 3 ระดับ ผอ. หน่วยงาน และ ระดับบุคคล ดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการและตัวชี้วัดระดับบุคคล ตัดยอดผลการปฏิบัติราชการระดับบุคคล ปฏิบัติราชการ ตัดยอดผลงาน ตัดยอดผลการเบิกจ่ายงบประมาณจาก GFMIS ส่งรายงานผล ประมวลผลงาน แจ้งผลประเมินและการขอยื่นอุทธรณ์ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับ ผอ. หน่วยงาน ระดับบุคคล แจ้งยอดเงินที่ได้รับจัดสรร ประเมินผลการปฏิบัติราชการ บริหารวงเงิน ส่งประกาศ, ผลการประเมิน, ผลการแจ้งร้อยละของการเลื่อนเงินเดือนระดับเจ้าหน้าที่ ให้ กจ.
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ระดับ ผอ. หน่วยงาน และระดับบุคคล อุทธรณ์ผลการประเมินผลการปฏิบ้ติราชการ ยื่นอุทธรณ์ รวบรวมและตรวจสอบ พิจารณาการอุทธรณ์ นำผลการขออุทธรณ์ไปใช้ในการเลื่อนเงินเดือน 4 5 พิจารณาเลื่อนเงินเดือน ระดับ ผอ. หน่วยงาน และ ระดับบุคคล คณะกรรมการกลั่นกรองฯ พิจารณาการเลื่อนเงินเดือน คณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคล พิจารณาการเลื่อนเงินเดือน นำเสนอกรมให้ความเห็นชอบการเลื่อนเงินเดือน หมายเหตุ กจ. หมายถึง กองการเจ้าหน้าที่ พบ. หมายถึง กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหาร ศท. หมายถึง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กค. หมายถึง กองคลัง คกก. หมายถึง คณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมิน
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การประเมินผลงานและสมรรถนะการประเมินผลงานและสมรรถนะ ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ รอบการประเมินที่ 2 ปีงบประมาณ 2554 1
การประเมินผลงานและสมรรถนะการประเมินผลงานและสมรรถนะ ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ รอบการประเมินที่ 2 ปีงบประมาณ 2554 2
การประเมินผลงานและสมรรถนะการประเมินผลงานและสมรรถนะ ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ รอบการประเมินที่ 2 ปีงบประมาณ 2554 3 4 ให้ประเมินสมรรถนะในรูปแบบคณะกรรมการ โดยวิธี Rating Scale
การประเมินผลงานและสมรรถนะการประเมินผลงานและสมรรถนะ ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ รอบการประเมินที่ 2 ปีงบประมาณ 2554
การพิจารณากลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงานการพิจารณากลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงาน คำสั่งกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ที่ 600/2552 ลงวันที่ 4 ธันวาคม 2552 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการ ให้มีอำนาจหน้าที่ในการเสนอความเห็นเกี่ยวกับมาตรฐานและความเป็นธรรม และผลการประเมินการปฏิบัติราชการก่อนเสนอคณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม
การพิจารณากลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงาน (สำหรับข้าราชการทั่วไป) คณะกรรมการกลั่นกรองฯ ระดับหน่วยงาน ประเมินผลการปฏิบัติราชการจากตัวชี้วัดระดับบุคคล ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการจากสมรรถนะ จัดทำรายงานการประชุมตามมติคณะกรรมการของหน่วยงาน แจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบ โดยการให้ลงนามรับทราบเป็นรายบุคคล ขออุทธรณ์โดยการแสดงเอกสารหลักฐานผลงาน ไม่ลงนามรับทราบ ครั้งที่ 1 ลงนามรับทราบ ไม่ลงนามรับทราบ ครั้งที่ 2 • ส่งเอกสารที่เกี่ยวข้องให้กองการเจ้าหน้าที่ ได้แก่ • แบบสรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (กรณีไม่ลงนามรับทราบ ให้มีพยานลงนามได้) • รายงานการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองระดับหน่วยงาน กองการเจ้าหน้าที่เสนอคณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม คณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรมเสนอความเห็นกรมพิจารณาให้ความเห็นชอบเลื่อนเงินเดือน
การพิจารณากลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงาน (สำหรับผู้อำนวยการ) เฉพาะรอบการประเมินที่ 2/2554 กองการเจ้าหน้าที่รวบรวมคะแนนผลการปฏิบัติงานของผู้อำนวยการ (ภายหลังการอุทธรณ์เรียบร้อยแล้ว) จากกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กองการเจ้าหน้าที่รวบรวมคะแนนผลการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะ) ที่ได้จากผู้บริหารระดับกรม กจ.ประมวลคะแนนจากผลการปฏิบัติราชการและสมรรถนะ กองการเจ้าหน้าที่เสนอคณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม คณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรมเสนอกรมพิจารณาให้ความเห็นชอบเลื่อนเงินเดือน
หลักเกณฑ์การเลื่อนเงินเดือนหลักเกณฑ์การเลื่อนเงินเดือน สรุปตามกฎ ก.พ.ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 และ ประกาศกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553 • แต่ละคนเลื่อนเงินเดือนไม่เกินร้อยละ 6 ของฐานในการคำนวณ ต่อ 1 รอบ • ห้ามหารเฉลี่ย (ทุกคนในส่วนราชการได้ร้อยละเท่ากันไม่ได้) • ผลการประเมิน “ต้องปรับปรุง” คะแนนต่ำกว่าร้อยละ 60 ไม่ได้เลื่อนเงินเดือน • เลื่อนเงินเดือนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดที่กำหนดแต่ละสายงาน • สั่งเลื่อนเงินเดือน ณ 1 เม.ย. / 1 ต.ค. ยกเว้น • ผู้เกษียณอายุ สั่งเลื่อน 30 ก.ย. • ผู้เสียชีวิต (ปฏิบัติงานครบ 4 เดือน) สั่งเลื่อนให้มีผลวันที่เสียชีวิต • 6. ยกเลิกการรอเลื่อนเงินเดือน : ผู้ถูกตั้งกรรมการสอบวินัยร้ายแรงและผู้ถูกฟ้องคดีอาญา (หากถูกลงโทษ ต้องงดเลื่อนเงินเดือนในรอบการประเมินนั้น) • 7. บรรจุใหม่ จะต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน
หลักเกณฑ์การเลื่อนเงินเดือนหลักเกณฑ์การเลื่อนเงินเดือน สรุปตามกฎ ก.พ.ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 และ ประกาศกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553 8. ลาศึกษา/ฝึกอบรม จะต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน 9. ไม่ถูกสั่งพักราชการเกิน 2 เดือน 10. ไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุอันควร 11. ลาป่วยและลากิจเกิน 10 ครั้ง หรือจำนวนวันลาเกิน 23 วัน หรือมาทำงานสายเกิน 18 ครั้ง 12. ลาไม่เกิน 23 วันทำการ โดยไม่รวมลาอุปสมบท/ลาคลอด/ป่วยจำเป็น (ต้องไม่เกิน 60 วันทำการ)/ป่วยประสบอันตราย/ตรวจเลือก/เตรียมพล/ ทำงานองค์การระหว่างประเทศ 13. แจ้งผลการเลื่อนเงินเดือนเฉพาะบุคคล/แจ้งเหตุผลผู้ที่ไม่ได้เลื่อนเงินเดือน
ฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือนใหม่ฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือนใหม่
แบบฟอร์มต่างๆที่ต้องใช้แบบฟอร์มต่างๆที่ต้องใช้ แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
แบบฟอร์มต่างๆที่ต้องใช้แบบฟอร์มต่างๆที่ต้องใช้ แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะ)
เอกสารต่างๆ ที่ต้องส่งให้กองการเจ้าหน้าที่
เอกสารต่างๆ ที่ต้องส่งให้กองการเจ้าหน้าที่
การส่งผลงานสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการการส่งผลงานสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ สำหรับรอบการประเมินที่ 2/2554 1 ตัดผลงานมิติที่ 2 และมิติที่ 4 วันที่ 15 กันยายน 2554 ตัดผลงานมิติที่ 3 (ตัดยอดการเบิกจ่าย) วันที่ 30 กันยายน 2554 ตัดผลงานมิติที่ 1 (DATA CENTER) วันที่ 4 ตุลาคม 2554 รายงาน SAR ส่งให้ พบ. ตามปฏิทิน 2 ส่งเอกสาร
ตัวชี้วัดบังคับสำหรับข้าราชการจะใช้ปี 2555 เป็นต้นไป ระดับปฏิบัติการ ชำนาญงาน ปฏิบัติงาน
ตัวชี้วัดบังคับสำหรับข้าราชการจะใช้ปี 2555 เป็นต้นไป ระดับชำนาญการ
ตัวชี้วัดบังคับสำหรับข้าราชการจะใช้ปี 2555 เป็นต้นไป ระดับชำนาญการพิเศษ
หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการและสมรรถนะสำหรับปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการและสมรรถนะสำหรับปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการและสมรรถนะสำหรับปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการและสมรรถนะสำหรับปีงบประมาณ 2555 ให้ประเมินสมรรถนะในรูปแบบคณะกรรมการ โดยวิธีจุดอ่อนจุดแข็งเชิงพฤติกรรมของผู้รับการประเมินจากพจนานุกรมรายการสมรรถนะของสำนักงาน ก.พ.
หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการและสมรรถนะสำหรับปีงบประมาณ 2555
แนวปฏิบัติการถ่ายทอดตัวชี้วัดกรณีที่หน่วยงานไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการแนวปฏิบัติการถ่ายทอดตัวชี้วัดกรณีที่หน่วยงานไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ ตามหนังสือกองการเจ้าหน้าที่ ที่ รง 0415/4016 ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2553 1. การลงนามรับทราบตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายและสมรรถนะช่วงต้นรอบ ภายหลังจากที่กรมแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการแล้ว จากนั้นหัวหน้าฝ่าย/งานบริหารทั่วไปนำเสนอให้ผู้ดำรงตำแหน่งลงนามรับทราบและส่งให้ กจ. โดยทันที 2. การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับบุคคล ให้ผู้รักษาราชการแทนในตำแหน่งผู้อำนวยการดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับบุคคลจนกว่าจะมีการแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ และรายงานให้ผู้อำนวยการทราบโดยทันที 3. การบันทึกตัวชี้วัด ให้บันทึกเฉพาะชื่อผู้ให้ข้อมูลไว้ก่อน จากนั้นเมื่อครบรอบการประเมินจึงจะไปบันทึกชื่อผู้ประเมินให้สมบูรณ์อีกครั้ง
ประกาศกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน • เรื่อง แนวปฏิบัติในการจัดทำคำมั่นในการพัฒนาปรับปรุงตนเอง • กรณีข้าราชการมีผลการปฏิบัติราชการในระดับที่ต้องปรับปรุง • ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2553 หากมีข้าราชการที่มีคะแนนผลการปฏิบัติงานต่ำกว่า ร้อยละ 60 ให้แต่ละหน่วยงานดำเนินการดังนี้ ผู้บังคับบัญชาต้องแจ้งให้ทราบและทำคำมั่นในการปรับปรุงตนเอง ในรอบการประเมินถัดไป ให้กำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติม และใส่คำอธิบายต่อท้ายตัวชี้วัดว่า “คำมั่นในการพัฒนาปรับปรงตนเอง” ทำคำมั่นในการปรับปรุงตนเองได้ไม่เกิน 3 รอบประเมิน ในกรณีที่ผู้ถูกประเมินเห็นว่า การประเมินไม่เป็นธรรมอาจทำคำคัดค้านยื่นต่อผู้บังคับบัญชาได้ ให้ผู้บังคับบัญชาหน่วยงานรายงานต่ออธิบดี หากปรากฎว่า ผู้นั้นไม่ผ่านการประเมินในระดับอันเป็นที่พอใจของทางราชการตามคำมั่นในการปรับปรุงตนเอง
แนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมินแนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมิน ตามหนังสือกองการเจ้าหน้าที่ ที่ รง 0415/0920 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2553 • ให้คงตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายเดิมไว้ทั้งหมด และเพิ่มเติมตัวชี้วัดบางตัวพร้อมตั้งค่าเป้าหมายใหม่ • ให้ประเมินผลการปฏิบัติงานจาก 2 หน่วยงาน โดยใช้แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานและแบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ 2 ชุด โดยให้หน่วยงานเดิมให้คะแนนก่อน และหน่วยงานใหม่ทำการประเมินตามตัวชี้วัดที่กำหนดขึ้นใหม่นั้น • 3. ไม่ต้องบันทึกตัวชี้วัดลงในระบบ DPIS • 4. กำหนดน้ำหนักผลคะแนนที่ได้รับตามจำนวนเดือนที่ปฏิบัติงาน ทั้งนี้ หากจำนวนวันมากกว่า 15 วันให้นับเป็น 1 เดือน • 5. ให้เลื่อนเงินเดือนกับหน่วยงานที่ผู้ปฏิบัติงานที่ปฏิบัติงานจริง ณ วันที่ 1 มีนาคม (ตามรอบการประเมินที่ 1) และ ณ วันที่ 1 กันยายน (ตามรอบการประเมินที่ 2)
แนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมินแนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมิน ตัวอย่าง ในรอบการประเมินที่ 2/2554 (1 เมษายน – 30 กันยายน 2554) • นาย ก. ปฏิบัติหน้าที่ ณ กองการเจ้าหน้าที่ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน – 31 กรกฎาคม 2554 • (รวม 4 เดือน) • 2. นาย ก. ย้ายไปปฏิบัติหน้าที่ ณ กองแผนฯ ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม – 30 กันยายน 2554 • (รวม 2 เดือน)
แนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมินแนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมิน ตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 1 : ประเมินผลจากทั้งสองหน่วยงาน
แนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมินแนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมิน ตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 2 : ให้น้ำหนักผลคะแนนประเมินจากจำนวนเดือน
แนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมินแนวปฏิบัติกรณีย้ายระหว่างรอบการประเมิน ตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 3 : คำนวนคะแนนผลงานตามสัดส่วนจำนวนเดือน 82 x 60/100 = 49.2 90 x 40/100 = 36 49.2 + 36 = 85.2