1 / 18

นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศไทย

นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศไทย. โดย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นายอลงกรณ์ พลบุตร) วันจันทร์ที่ 31 มกราคม 2554 เวลา 14.30 - 16.00 น. ณ ห้อง 30404 สำนักงานปลัดกระทรวง. Knowledge.

igor-guerra
Download Presentation

นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศไทยนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศไทย โดย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นายอลงกรณ์ พลบุตร) วันจันทร์ที่ 31 มกราคม 2554 เวลา 14.30 - 16.00 น. ณ ห้อง 30404 สำนักงานปลัดกระทรวง

  2. Knowledge เศรษฐกิจสร้างสรรค์คืออะไร ? Technology & Innovation Education Creativity Social Wisdom Culture Intellectual Property เศรษฐกิจสร้างสรรค์ หมายถึง แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการใช้องค์ความรู้(Knowledge) การศึกษา (Education) การสร้างสรรค์งาน (Creativity) และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual property) ที่เชื่อมโยงกับรากฐานทางวัฒนธรรม (Culture) การสั่งสมความรู้ของสังคม (Social wisdom) และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ (Technology and Innovation)

  3. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญาส่งเสริมการใช้ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญา การป้องกันและปราบปรามการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา ทำไมต้องเศรษฐกิจสร้างสรรค์? การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ สินค้า/ ผลิตภัณฑ์ การสร้างมูลค่า นำ ไป สู่

  4. มูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทยมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย 5,077 ล้านเหรียญสหรัฐฯ อันดับที่ 19 ของโลก ปี 2551 (UNCTAD) ส่วนแบ่งในตลาดโลก ร้อยละ 1.2 (อันดับ 1 คือ จีน ส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 20.8 มูลค่า 84,807 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) 5

  5. มูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทยมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย ร้อยละ 10.7 ของ GDP ปี 2549 (UNCTAD) กลุ่มงานฝีมือ หัตถกรรม และแฟชั่นสร้างรายได้หลัก (ร้อยละ 9.5 ของ GDP)

  6. แนวโน้มการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของโลกแนวโน้มการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของโลก สัดส่วนมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ต่อ GDP ในประเทศสำคัญๆ ทั่วโลก สหรัฐอเมริกา มูลค่า 11.2 ของ GDP สิงคโปร์ มูลค่า 5.7 ของ GDP เกาหลีใต้ มูลค่า 8.87 ของ GDP สหราชอาณาจักร มูลค่า 7.3 ของ GDP ที่มา:UNCTAD

  7. การเปิดตัวนโยบาย Creative Economy – 31 ส.ค. 52 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2552 รัฐบาลได้จัดงานเปิดตัวโครงการเศรษฐกิจสร้างสรรค์ขึ้นที่ทำเนียบรัฐบาล โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานมีแขกผู้มีเกียรติจากภาครัฐและเอกชนเข้าร่วมงานกว่า 500 คน และมีกิจกรรมที่สำคัญๆ ได้แก่ การกล่าวปาฐกถาพิเศษของนายกรัฐมนตรี การกล่าว พันธสัญญาของรัฐบาลในการขับเคลื่อนโครงการเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การแสดงปฏิญญาโดยผู้แทนเอกชน 15 กลุ่มอุตสาหกรรม และการเสวนาหัวข้อ “สร้างไทยเข้มแข็ง ด้วยหัวคิดแบบไทย”

  8. โครงสร้างการบริหารนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย ภายใต้ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ พ.ศ.2553 • คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ (กศส.) • (นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน) • คณะกรรมการบริหารสำนักงานเศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ (รมช.พณ. เป็นประธาน) • คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ (รมช.พณ. เป็นประธาน) • สำนักงานเศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ • (อธิบดีทป. เป็นผอ.) • คณะอนุกรรมการสร้างองค์ความรู้ และต่อยอดอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

  9. เป้าหมายในการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์เป้าหมายในการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 1. เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในภูมิภาคอาเซียน (Creative Industrial Hub of ASEAN ) 2. เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์จากร้อยละ 12 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ เป็นร้อยละ 20 ภายในปี 2555 การขับเคลื่อนพันธสัญญาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ของกระทรวงพาณิชย์ ด้านที่ 1 ยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนระบบ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ด้านที่ 2 สร้างรากฐานและปลูกฝังความ สามารถด้านการคิดและการ สร้างสรรค์ในระบบการ ศึกษาไทย ด้านที่ 3 กระตุ้นให้ทุกภาคส่วน ให้ความสำคัญกับ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ด้านที่ 4 ส่งเสริมสนับสนุนธุรกิจและ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 1. ค. ต้นแบบของพสกนิกร ไทย “ในหลวง” กับ “การสร้างสรรค์” (Creative King) 2. โครงการเมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 3. ค. ส่งเสริมและต่อยอดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 4. ค. เสริมสร้างความเข้าใจในเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 5. ค. สัมมนาและประชุมเชิงปฏิบัติการเศรษฐกิจสร้างสรรค์ระดับประเทศ 6. ค. จัดมหกรรม TICEF 1. ค. สร้างสรรค์ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมไทย 2. ค. สร้างภาพลักษณ์ใหม่สินค้าสร้างสรรค์ไทยสู่สากล 3. ค. Thailand Planet 4. ค. ส่งเสริมพัฒนาเอกลักษณ์ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับไทยสู่สากล (พค.) 5. ค. พัฒนาพัฒนาทักษะเชิงสร้างสรรค์และเพิ่มศักยภาพในการทำธุรกิจในกลุ่มอุตสาหกรรมไลฟ์สไตล์ (สอ.) 6. ค. ส่งเสริมศักยภาพผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและสมุนไพรเพื่อการส่งออกสู่ตลาดโลก (สอ.) 7. ผลักดันการจัดตั้งกองทุน เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ผลักดันการจัดตั้งสำนักงานเศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ (TCEA) 1. ค. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชน (Creative Kids) 2. ค. พัฒนาศักยภาพและ ขีดความสามารถด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ ใน15 อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 3. จัดตั้งสถาบันพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Academy)

  10. จัดตั้งสถาบันพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Academy: CA) CA C-I-C

  11. การดำเนินงานจัดตั้งสถาบันพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Academy: CA) ตั้งคณะอนุกรรมการสร้างองค์ความรู้และต่อยอดอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Academy) รมช.พณ.เป็นประธาน สนับสนุนให้มีการจัดตั้ง CA เป็นหน่วยงานภายในสถาบันอุดมศึกษา เพื่อดำเนินกระบวนการพัฒนาต่อยอดทางธุรกิจให้กับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ทั้ง 15 สาขา โดยดำเนินงานในรูปแบบบูรณาการ 3 ประสาน ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคสถาบันอุดมศึกษา นายกรัฐมนตรี ได้มอบโล่เกียรติคุณแต่งตั้ง CA เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2553 ณ ทำเนียบรัฐบาล

  12. บทบาทหน้าที่ของสถาบันพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์บทบาทหน้าที่ของสถาบันพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ • พัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ • เป็นศูนย์บ่มเพาะบุคลากรในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ทั้ง 15 สาขา • สร้างมาตรฐานทางธุรกิจในสาขาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ • เป็นศูนย์กลางพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างแบรนด์ • วิจัย สร้างสรรค์และถ่ายทอดเทคโนโลยี • บริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา

  13. 9. การแพร่ภาพและกระจายเสียง สาขาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับคัดเลือก 1. ศิลปะการแสดง 2. การแพทย์แผนไทย 3. การท่องเที่ยวสถานที่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม 4. การออกแบบ 5. ทัศนศิลป์ 6. งานฝีมือ 7. สถาปัตยกรรม 8. ธุรกิจอาหาร 10. ม. ศรีปทุม 10. ซอฟต์แวร์ 1. ม. มหิดล 2. ม. มหิดล 3. ม. มหิดล 4. ม. ศิลปากร 5. ม. ศิลปากร 6. ม. เชียงใหม่ 7. ม. ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 8. ม. เกษตรศาสตร์ 9. ม. กรุงเทพ ผลการคัดเลือกสถาบันพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Academy: CA)

  14. โครงการเมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์โครงการเมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าหมาย • เพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจให้กับชุมชน สร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างรายได้ให้แก่ท้องถิ่นทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ด้วยต้นทุนทางปัญญาและอัตลักษณ์เฉพาะของชุมชน รูปแบบโครงการ • คัดเลือกเมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 10 เมือง • แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกเมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ • ขณะนี้อยู่ระหว่างประสานจังหวัด เพื่อดำเนินการจัดประชุมระดมความคิดเห็น ผู้ว่าราชการจังหวัด พาณิชย์จังหวัด หอการค้าจังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด และลงพื้นที่ ในต้นปี 2554

  15. โครงการ Thailand Planet รูปแบบโครงการ การนำเทคโนโลยีโลกออนไลน์เสมือนจริง 3 มิติ โดยการจำลองสถานที่ต่างๆ เช่น แหล่งท่องเที่ยว ร้านค้า ของแต่ละจังหวัด เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสร้างภาพลักษณ์ให้กับประเทศ ในรูปแบบการลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public-Private Partnership: PPP) จัดทำ MOU ระหว่างกรมทรัพย์สินทางปัญญากับบริษัท กสท โทรคมนาคม เพื่อร่วมมือพัฒนาโครงการ Thailand Planet ภายใต้นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2553

  16. ขอบคุณ

More Related