110 likes | 226 Views
ประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ต่อแนวทางการจัดสรรช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ประเภทกิจการธุรกิจ. พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. โครงสร้างจำนวนช่องรายการ. ทำไมต้องแบ่งประเภทช่องรายการ ?. ความล้มเหลวของระบบตลาด รายการดี แต่ไม่ได้รับความนิยม จะไม่ถูกผลิต
E N D
ประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ต่อแนวทางการจัดสรรช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอลประเภทกิจการธุรกิจประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ต่อแนวทางการจัดสรรช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอลประเภทกิจการธุรกิจ พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โครงสร้างจำนวนช่องรายการโครงสร้างจำนวนช่องรายการ
ทำไมต้องแบ่งประเภทช่องรายการ?ทำไมต้องแบ่งประเภทช่องรายการ? • ความล้มเหลวของระบบตลาด • รายการดี แต่ไม่ได้รับความนิยม จะไม่ถูกผลิต • ผู้ประกอบกิจการตอบสนองต่อทั้ง ผู้ชม และผู้สนับสนุนรายการ • ความต้องการรับชม เปลี่ยนแปลงไปตามรายการที่รับชม ไม่ได้มาตามธรรมชาติ
การแบ่งประเภทช่องรายการ แก้ปัญหาอะไร? เพียงพอหรือไม่? • แบ่งช่องรายการ ทำให้รายการข่าว และรายการเด็กมากขึ้น (ปัญหาด้านปริมาณถูกแก้ไข) • แต่ปัญหาคุณภาพยังอยู่ รายการคุณภาพดี ที่ไม่ได้รับความนิยม จะยังไม่ได้รับการผลิต เช่นเดิม
ข้อเสนอเพิ่มเติมเพื่อประกอบการแบ่งประเภทช่องรายการข้อเสนอเพิ่มเติมเพื่อประกอบการแบ่งประเภทช่องรายการ • การแบ่งประเภทช่องรายการมีต้นทุนที่สังคมต้องจ่ายเช่นกัน • ลดราคาช่องเพื่อจูงใจ ทำให้รัฐได้รายรับน้อยลง • ช่องรายการเด็ก และข่าว เสียโอกาสในการทำให้เป็นช่องรายการทั่วไป • หากไม่มีข้อกำหนดด้านคุณภาพ สังคมจะได้รับ “สินค้า” ที่มีคุณภาพไม่สอดคล้องกับ “ราคา” ที่จ่ายไป
ตัวอย่างประเด็นการกำกับด้านเนื้อหาตัวอย่างประเด็นการกำกับด้านเนื้อหา • การวางกรอบคุณสมบัติของรายการที่ช่องรายการต้องมีการผลิต • ข้อกำหนดเกี่ยวกับความหลากหลายของรายการเช่น เวลาขั้นต่ำที่ต้องฉายรายการที่มีคุณสมบัติที่กำหนด ในเวลาที่เหมาะสม • ข้อกำหนดเกี่ยวกับเนื้อหาของโฆษณาสำหรับรายการเด็ก • ข้อกำหนดเกี่ยวกับเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมในการออกอากาศที่ชัดเจน
การกำหนดเพดานการถือครองช่องรายการจำเป็นหรือไม่?การกำหนดเพดานการถือครองช่องรายการจำเป็นหรือไม่? • ห้ามผู้ประกอบกิจการถือครองช่องรายการกลุ่มเดียวกันเกิน 1 ช่อง • ห้ามถือครองช่องรายการประเภททั่วไปในระบบ HD และช่องรายการข่าวพร้อมกัน • ผู้ประกอบการอย่างน้อย 14 ราย • ส่งผลลดการแข่งขันในการประมูลช่องรายการประเภทข่าว • ไม่มีผู้ประกอบการรายใหญ่และมีศักยภาพในการผลิตรายการคุณภาพสูง ทำช่องรายการข่าว
ราคาเริ่มต้นการประมูลราคาเริ่มต้นการประมูล • มูลค่าคลื่นที่ใช้กำหนดราคาเริ่มต้นตั้งอยู่บนข้อสมมติของสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุด (worst case scenario) • HD เท่ากับ 1,507 ล้านบาท, ช่องรายการทั่วไป SD เท่ากับ 374 ล้านบาท, ช่องรายการข่าวเท่ากับ 211 ล้านบาท และช่องรายการเด็กเท่ากับ 134 ล้านบาท (นโยบาย must carry) • การประเมินมีความเสี่ยงที่จะมีความผิดพลาดสูง worst case scenario น่าจะเป็นทางเลือกที่ปลอดภัย (conservative) ที่สุด
ราคาเริ่มต้นการประมูลราคาเริ่มต้นการประมูล • ปรับราคาเริ่มต้นการประมูลตามจำนวนของผู้เข้าประมูลและจำนวนใบอนุญาต โดยราคาเริ่มต้นจะลดลงอย่างเป็นสัดส่วนเมื่อผู้เข้าประมูลมีจำนวนมากขึ้น • ลดลงได้ถึง 20 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าประเมินต่ำสุดจาก worst case scenario (หากจำนวนผู้เข้าร่วมประมูลเท่ากับ 20 ราย สำหรับช่องรายการทั่วไปและช่องรายการข่าว และ 15 รายขึ้นไปสำหรับช่องรายการเด็ก)
ข้อควรระวัง • กลยุทธ์น่าสนใจ น่าจะมีส่วนให้การจัดสรรช่องรายการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ • การเลือกประกาศ (หรือไม่ประกาศ) “เมนูราคาเริ่มต้น” ข้างต้นนั้นก็เป็นส่วนหนึ่งของ “กลยุทธ์” การจัดการประมูลเช่นกัน • ผู้ประกอบการจะมีแรงจูงใจในการส่งเสริม ชักจูง กระทั่งร่วมมือกัน “เพิ่ม” จำนวนผู้เข้าร่วมประมูล • เริ่มต้นที่แท้จริงในทางปฏิบัติก็คือราคาต่ำสุดใน “เมนูราคา” ที่ กสทช.ประกาศนั้นเอง
ข้อเสนอแนะ • ไม่มีปัญหา ถ้าผู้เข้าร่วมประมูลที่จริงจังมากกว่าช่องรายการ • มีปัญหา ถ้าผู้ประมูลที่จริงจังน้อย รัฐได้รายรับน้อยกว่าที่ควรจะเป็น สูงสุดถึง 20% ถ้าผู้ประมูลที่จริงจังมีน้อยกว่าสินค้า • มาตรการที่บรรเทาปัญหา เช่น • เพิ่มหลักประกันที่ต้องวางก่อนการประมูล • ไม่เปิดเผยตัวตนของผู้เข้าร่วม • ไม่เปิดเผยข้อมูลว่าผู้เข้ารวมแต่ละราย ประมูลใบอนุญาตใดบ้าง ในระหว่างประมูล