1 / 59

โดย ดร.นพ. ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ

ทิศทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ ปี 2554-2563. โดย ดร.นพ. ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ วันที่ 24 สิงหาคม 2553 ณ.โรงแรมนารายณ์ กรุงเทพมหานคร. Life expectancy by sex.

ikia
Download Presentation

โดย ดร.นพ. ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ ปี 2554-2563 โดย ดร.นพ. ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ วันที่ 24 สิงหาคม 2553 ณ.โรงแรมนารายณ์ กรุงเทพมหานคร

  2. Life expectancy by sex Population structure, 2008 Source: Bureau of Health Policy and Strategy, Ministry of Public Health

  3. แสดงอัตราตายต่อประชากร 100,000 คน ด้วยโรคในกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดที่สำคัญได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือดโรคหลอดเลือดสมองใหญ่(อัมพฤกษ์ อัมพาต) และโรคเบาหวาน ภาพรวมประเทศ(ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) ปีพ.ศ.2543-2552 ที่มา สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข รวบรวมโดย กลุ่มส่งเสริมสนับสนุนวิชาการ สำนักโรคไม่ติดต่อ หมายเหตุ ข้อมูลเพิ่มขึ้นจาก 20.78(ปี2551) เป็น 21.04(ปี 2552) ต่อประชากรแสนคน

  4. แสดงอัตราผู้ป่วยใน ต่อประชากร 100,000 คน ด้วยโรคในกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดที่สำคัญได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือดโรคหลอดเลือดสมองใหญ่(อัมพฤกษ์ อัมพาต) และโรคเบาหวาน ภาพรวมประเทศ(ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) ปี พ.ศ.2543-2552 ที่มา สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข รวบรวมโดย กลุ่มส่งเสริมสนับสนุนวิชาการ สำนักโรคไม่ติดต่อ

  5. แสดงอัตราการตายต่อประชากร 100,000 คน จากอุบัติเหตุจราจร ปี พ.ศ. 2542-2551 ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์รวบรวมโดย : กลุ่มส่งเสริมสนับสนุนวิชาการ สำนักโรคไม่ติดต่อ

  6. 6.2 Death rate per 100,000 23.7 19.85 14.7 11.50 9.1 7.7 7.60 5.4 5.7 4.9

  7. จำนวนและอัตราการเสียชีวิตต่อประชากร 100,000 คน จากการจมน้ำของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี ปีพ.ศ. 2542-2551

  8. ผลการสำรวจ NHES & BRFSS

  9. เป้าหมายการดำเนินงาน (2554 - 2563) 1. ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง/สื่อสารเตือนภัย ที่มีประสิทธิภาพ 2. ชุมชนมีศักยภาพในการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ 3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงรับรู้ เข้าใจ ตระหนักถึงภาวะเสี่ยงการ ป้องกันและแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม 4. หน่วยงาน/เครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนมีส่วนร่วมและสามารถจัดการความเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 5. บุคลากรและเครือข่ายภาครัฐและท้องถิ่น ได้รับการพัฒนา ศักยภาพด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ

  10. ยุทธศาสตร์กรมฯ/กิจกรรมหลักของการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อในปี 2554 - 2563

  11. สิ่งที่จะทำในปี 2554 • ส่งเสริม สนับสนุน “อำเภอเข้มแข็งป้องกัน ควบคุมโรค” • สนับสนุน/บูรณาการกับหน่วยงานอื่นๆ • โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยฯ (คัดกรองฯ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค) • ยุทธศาสตร์การจัดการภาวะอ้วนและน้ำหนักเกิน (มติสช.) • ยุทธศาสตร์ความปลอดภัยทางอาหาร • ทศวรรษความปลอดภัยทางถนน : แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน มติสมัชชาสุขภาพเรื่องความปลอดภัยทางถนน

  12. สิ่งที่จะทำในปี 2554 (ต่อ) • พัฒนาระบบข้อมูลโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ (NCD profile, Injury data, ข้อมูลการเฝ้าระวังฯ และการดำเนินงาน) และพัฒนา website ของสำนักฯ • ผลักดันนโยบาย : การป้องกันเด็กจมน้ำ • พัฒนาวิชาการ : วิจัยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาตัวชี้วัดจากผลการสำรวจฯ การเขียนข่าวกรอง เตรียมหัวข้อวิจัยปี 55 • การสื่อสารสาธารณะ • Air war (นโยบายรมช.) • ปรับช่องทาง/รูปแบบการสื่อสาร

  13. สิ่งที่จะทำในปี 2554 (ต่อ) • สร้างเครือข่ายระดับชาติ • NCD network • Injury network • Information network • กำกับติดตามและประเมินผล • ประเมินผลการป้องกันเด็กจมน้ำ • เครื่องมือกำกับติดตามประเมินผลฯ • พัฒนาองค์กร : PMQA, KM, PMS, I - SMART

  14. แนวทางการสนับสนุนอำเภอเข้มแข็งแนวทางการสนับสนุนอำเภอเข้มแข็ง Vision สำนักฯ Mission Organization Practice สคร. สสจ. อำเภอ เข้มแข็งฯ Strategy OC Progress marking

  15. vision ประชาชนมีสุขภาพดี (ไม่ป่วย)มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม

  16. Mission เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ทันการณ์ และการมีส่วนร่วม

  17. Outcome Challenge • มีคณะกรรมการแบบมีส่วนร่วม • มีแผนการดำเนินงาน • มีระบบข้อมูล • มีทีมดำเนินงาน (SRRT & NCD Man) • มีการระดมทรัพยากร • มีผลการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม

  18. Progress Marking • มี NCD Man ที่สามารถ • เป็นนักการตลาด • เป็นนักจัดการสุขภาพ • เป็นผู้สามารถสาธิต/ถ่ายทอด • มีการรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล NCD และใช้ในการวางแผน • มีการติดตามและประเมินผล • มีบริการป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อ (คัดกรองฯ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สื่อสารสาธารณะ CBI)

  19. Strategy • พัฒนา สคร. และ สสจ. ให้เป็น Surveyor, Accreditor • พัฒนาให้เกิด NCD Man • พัฒนาคู่มือการดำเนินงาน • ส่งเสริมการใช้ SRM/SLM

  20. Organization Practice • บูรณาการกับสำนักต่างๆ • พัฒนาศักยภาพ สคร. และ สสจ. • พัฒนาหลักสูตร NCD Man และคู่มือการดำเนินงาน • พัฒนาเครื่องมือในการทำงานใหม่ๆ • พัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • พัฒนารูปแบบ CBI • กำกับติดตาม ประเมินผล

  21. แผนงาน/โครงการ ปี2554 ผลผลิตที่ 1จำนวน 3โครงการ

  22. แผนงาน/โครงการ ปี2554 ผลผลิตที่ 1(ต่อ)

  23. แผนงาน/โครงการ ปี2554 ผลผลิตที่ 1(ต่อ)

  24. แผนงาน/โครงการ ปี2554ผลผลิตที่ 2จำนวน 6โครงการ

  25. แผนงาน/โครงการ ปี2554 ผลผลิตที่ 2(ต่อ)

  26. แผนงาน/โครงการ ปี2554 ผลผลิตที่ 2(ต่อ)

  27. แผนงาน/โครงการ ปี2554 ผลผลิตที่ 2(ต่อ)

  28. แผนงาน/โครงการ ปี2554 ผลผลิตที่ 2(ต่อ)

More Related