1 / 26

“การตรวจสอบของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน”

“การตรวจสอบของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน”. บรรยายโดย : ศิริเพ็ญ กิริวรรณา ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาข้าราชการ. พ่อสอนไว้ว่า. ..... เงินแผ่นดิน นั้นคือ เงินของประชาชนทั้งชาติ ..... (พระบรมราโชวาท). หัวข้อกา รนำ เสนอ. 1. พ.ร.บ.การตรวจเงินแผ่นดิน 2. ตัวอย่างคำพิพากษาฎีกา

ila-golden
Download Presentation

“การตรวจสอบของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “การตรวจสอบของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน”“การตรวจสอบของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน” บรรยายโดย :ศิริเพ็ญ กิริวรรณา ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาข้าราชการ

  2. พ่อสอนไว้ว่า..... .....เงินแผ่นดิน นั้นคือ เงินของประชาชนทั้งชาติ..... (พระบรมราโชวาท)

  3. หัวข้อการนำเสนอ 1. พ.ร.บ.การตรวจเงินแผ่นดิน 2. ตัวอย่างคำพิพากษาฎีกา 3. ปัญหาและข้อควรระวังด้านการจัดซื้อจัดจ้าง 4. ข้อสังเกตและข้อตรวจสอบของสตง. 5. การแก้ไขสัญญา 6. ระเบียบ ค.ต.ง. ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง 4

  4. 1.พ.ร.บ.การตรวจเงินแผ่นดิน มาตรา 42 ให้ผู้ว่าหรือเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ มีอำนาจดังนี้ เพื่อสอบสวน หรือสั่งให้ส่ง มอบบัญชี ทะเบียน เอกสาร หลักฐานที่จัดทำขึ้นหรือมีไว้ ในครอบครอง 1.เรียกผู้รับตรวจ เรียกเจ้าหน้าที่หน่วยรับตรวจ 2.อายัด เงิน ทรัพย์สิน บัญชี ทะเบียน เอกสาร หรือ หลักฐานอื่นที่ มีอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยรับตรวจ

  5. มาตรา 42 (ต่อ) 3.เรียกบุคคลใดๆ เพื่อมาให้การเป็นพยาน หรือให้ส่งมอบบัญชี ทะเบียนเอกสาร หรือหลักฐานอื่นที่เกี่ยวกับหรือสันนิษฐานว่าเกี่ยวกับหน่วยรับตรวจ

  6. มาตรา 42 (ต่อ) 4. มีอำนาจเข้าไปในสถานที่ใดๆ - ในเวลาทำการ - ในระหว่างพระอาทิตย์ขึ้น และ พระอาทิตย์ตก เพื่อตรวจสอบ ค้น ยึด หรืออายัดบัญชี ทะเบียน เอกสาร หรือหลักฐานอื่น เพื่ออายัดเงินหรือทรัพย์สินที่เกี่ยวกับ หรือสันนิษฐานว่าเกี่ยวกับหน่วยรับตรวจเท่าที่จำเป็น

  7. การรายงานผลการตรวจสอบการรายงานผลการตรวจสอบ ไม่มีข้อสังเกต หัวหน้าส่วน ราชการ รายงาน

  8. การรายงานผลการตรวจสอบ (ต่อ) สตง. มีข้อสังเกต (ข้อทักท้วง) หัวหน้าส่วนราชการ รายงาน หน่วยกำกับดูแล

  9. มาตรา 44 พิจารณาผลการตรวจสอบ  มีข้อบกพร่องเนื่องจากไม่ปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรี  หน่วยรับตรวจแจ้งผลการดำเนินการให้คณะกรรมการทราบภายใน 60 วัน  กรณีหน่วยรับตรวจไม่ดำเนินการตามข้อเสนอแนะ โดยไม่มีเหตุอันสมควร

  10. มาตรา 46 พิจารณาผลการตรวจสอบ กรณี  มีพฤติการณ์น่าเชื่อว่าเป็นการทุจริตหรือมีการใช้อำนาจหน้าที่โดยมิชอบ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่เงินหรือทรัพย์สินของราชการ  แจ้งต่อพนักงานสอบสวนเพื่อดำเนินคดี  แจ้งต่อ ป.ป.ช.  แจ้งหน่วยรับตรวจ หรือผู้บังคับบัญชา หรือผู้ควบคุมกำกับ

  11. 2.หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบของ สตง. 12

  12. 3. ปัญหาและข้อควรระวังด้านการจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบความถูกต้องของการดำเนินการจัดซื้อ/จัดจ้างตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535และที่แก้ไขเพิ่มเติมหรือข้อบังคับ/หนังสือหารือและมติคณะรัฐมนตรีที่กำหนดเกี่ยวกับ * การตรวจรับสิ่งของที่ตกลงซื้อขายกันเป็นชุด(ที่นร(กวพ)0901/ว48) * การตรวจสอบความชำรุดบกพร่องก่อนการคืนหลักประกันสัญญา * การตรวจสังเกตการณ์การปฏิบัติงานตามสัญญา *มาตรการป้องกันหรือลดโอกาสในการสมยอมกันในการเสนอราคา 13

  13. 3. ปัญหาและข้อควรระวังด้านการจัดซื้อจัดจ้าง(ต่อ) -จัดซื้อที่ดินมีพฤติการณ์น่าเชื่อว่าทุจริต -คณะกรรมการตรวจการจัดซื้อ/จัดจ้างเป็นเท็จ -การตรวจสอบหลักประกันสัญญา-การตรวจสอบหนังสือรับรองผลงาน - การกำหนดคุณสมบัติผู้เสนอราคาต้องไม่เป็นการเอื้อประโยชน์ หรือกีดกัน

  14. 3. ปัญหาและข้อควรระวังด้านการจัดซื้อจัดจ้าง(ต่อ) -จัดซื้อพัสดุมากเกินความต้องการ -มีการแบ่งซื้อแบ่งจ้าง -พัสดุจำนวนมากขาดการดูแลรักษาที่ดี -การเบิกจ่ายพัสดุไม่เป็นไปตามระบบ FIFO -ไม่มีการกำหนดขั้นต่ำของวัสดุที่จะจัดซื้อ -ไม่ตรวจสอบพัสดุประจำปีตามระเบียบ

  15. 3. ปัญหาและข้อควรระวังด้านการจัดซื้อจัดจ้าง(ต่อ) • หลังการขายทอดตลาดครุภัณฑ์ให้ลงจ่ายออกจากบัญชีหรือทะเบียน • ลงบัญชีรับเงิน • ลบตรา/เครื่องหมายครุภัณฑ์ออก • กรณีพัสดุสูญหาย • แจ้ง กค. และ สตง. ทราบภายใน 30 วัน นับแต่ลงจ่ายพัสดุนั้น

  16. 4. การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน เรื่อง การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2546 ..........อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 15 (3) (ง) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2542 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินจึงประกาศ เรื่อง การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง เพื่อเป็นมาตรการและให้ถือปฏิบัติดังต่อไปนี้

  17. 4. การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง(ต่อ) ข้อ 4 ให้หน่วยรับตรวจที่มีการจัดซื้อจัดจ้างโดยใช้เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้ เงินกู้หรือเงินอุดหนุน จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (1) หน่วยรับตรวจตามข้อ 3 (1) (3) (4) (5) (6) (7) (8) และ (9) สำหรับครุภัณฑ์ที่มีราคาเกิน 100,000 บาทและ ที่ดินสิ่งก่อสร้างเกิน 2,000,000 บาท

  18. 4. การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง(ต่อ) ข้อ 5 ให้จัดทำให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 15 ตุลาคม ของทุกปี และส่งสำเนาให้ สตง. จำนวน 1 ชุด อย่างช้าภายในวันที่ 31 ตุลาคมของทุกปี ข้อ 6 จัดให้มีการตรวจสอบติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนฯ ให้ สตง. ทราบเป็นประจำทุกไตรมาส ภายใน 30 วันนับ แต่วันทำการสุดท้ายของไตรมาส ข้อ 7 ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม ผิดตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยวินัยทาง งบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544

  19. 5. คำพิพากษาฎีกาที่ 1090/2505จำเลยเป็นเจ้าพนักงานได้ยืมเงินทดรองเพื่อนำไปซื้อสิ่งของตามอำนาจหน้าที่ของจำเลยแต่เอาเงินไปใช้เสียดังนี้เป็นความผิดอาญาแล้วเพราะการยืมเงินทดรองของทางราชการหรือเทศบาลหามีลักษณะเหมือนการยืมเงินธรรมดาในระหว่างเอกชนด้วยกันไม่

  20. คำพิพากษาฎีกาที่2116-2117/2522 จำเลยกับพวกร่วมกันปลอมลายมือชื่อของบุคคลอื่นหลายคนลงในบัญชีหลักฐานการจ่ายค่าแรงงาน ซึ่งความจริงบุคคลเหล่านั้นไม่เคยทำงานและไม่ได้รับเงิน แล้วจำเลยกับพวกนำหลักฐานการจ่ายไปเบิกเงินจากทางราชการ เบียดบังเอาเงินจำนวนนั้นไปเป็นของตนเองและผู้อื่น เป็นทุจริต

  21. คำพิพากษาฎีกาที่ 2291/2517 จำเลยเป็นผู้ควบคุมงาน และคณะกรรมการตรวจการจ้างปล่อยให้ผู้รับจ้าง ใช้วัสดุคุณภาพต่ำ ถือเป็นการทุจริต

  22. คำพิพากษาฎีกาที่ 1270/2518 การลงชื่อตรวจรับงาน ทั้งที่ยังไม่แล้วเสร็จ แม้ยังไม่ได้เบิกจ่ายเงิน ก็เป็นความผิดสำเร็จ

  23. 6. การแก้ไขสัญญา • หลักการ : ห้ามแก้ไข • ยกเว้น : เป็นความจำเป็น+ราชการไม่เสียประโยชน์ เป็นประโยชน์แก่ทางราชการ • ผู้รับรอง : สถาปนิก / วิศวกร • ผู้เสนอ : คณะกรรมการตรวจการจ้าง • ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง • เมื่อมีการแก้ไขแล้วให้ส่งสรรพากร และ ส.ต.ง. ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีการแก้ไข

  24. 7. ผู้ทิ้งงาน • ไม่มาทำสัญญา • ไม่ปฏิบัติตามสัญญา • ไม่แก้ไขงานระหว่างประกัน • งานไม่ได้มาตรฐาน ไม่ครบถ้วน เสียหายร้ายแรง • ขัดขวางการแข่งขันราคา • กระทำโดยไม่สุจริต

  25. เชิญ Break สักครู่ค่ะ

More Related