380 likes | 841 Views
การประเมินความเสี่ยง และการคุ้มครองผู้บริโภค. ภญ. วิไล บัณฑิตานุกูล กองควบคุมวัตถุมีพิษ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ความเป็นมา. 1. เดิม พระราชบัญญัติวัตถุมีพิษ พ.ศ.2510 2. ปัจจุบัน พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535. คำนิยาม “วัตถุอันตราย” ตาม พ.ร.บ. 1. วัตถุระเบิดได้
E N D
การประเมินความเสี่ยงและการคุ้มครองผู้บริโภคการประเมินความเสี่ยงและการคุ้มครองผู้บริโภค ภญ. วิไล บัณฑิตานุกูล กองควบคุมวัตถุมีพิษ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ความเป็นมา 1. เดิม พระราชบัญญัติวัตถุมีพิษ พ.ศ.2510 2. ปัจจุบัน พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535
คำนิยาม “วัตถุอันตราย” ตาม พ.ร.บ. 1. วัตถุระเบิดได้ 2. วัตถุไวไฟ 3. วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์ 4. วัตถุมีพิษ 5. วัตถุที่ทำให้เกิดโรค 6. วัตถุกัมมันตรังสี 7. วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
คำนิยาม “วัตถุอันตราย” ตาม พ.ร.บ. 8. วัตถุกัดกร่อน 9. วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง 10. วัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
การควบคุมวัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน หรือทางการสาธารณสุข พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 วัตถุอันตราย ชนิดที่ 1 วัตถุอันตราย ชนิดที่ 2 วัตถุอันตราย ชนิดที่ 3 วัตถุอันตราย ชนิดที่ 4 - ปฏิบัติตามเกณฑ์ - ไม่ต้องขออนุญาต ใด ๆ - ขึ้นทะเบียน - แจ้งดำเนินการ - ขึ้นทะเบียน - ขออนุญาต - ห้ามดำเนินการ
การออกประกาศกำหนดให้เป็น “วัตถุอันตราย” - ต้องมีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ประกาศบัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย โดยหน่วยงานเป็นผู้พิจารณาประเมินความเสี่ยงว่าควรควบคุมสารหรือผลิตภัณฑ์ใดเป็นวัตถุอันตรายเสนอต่อคณะอนุกก. และคณะกก.วัตถุอันตราย - ประกาศจะระบุ - ชื่อสารหรือกลุ่ม - ชนิดของวัตถุอันตราย - CAS-Number - หน่วยงานผู้รับผิดชอบ - เงื่อนไข
กลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุขกลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุข 1. ผลิตภัณฑ์ป้องกันและ/หรือไล่กำจัดแมลง
กลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุขกลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุข 2. ผลิตภัณฑ์กำจัดเห็บหมัด และกำจัดเหาในคน
กลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุขกลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุข 3. ผลิตภัณฑ์กำจัดหนู
กลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุขกลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุข 4. ผลิตภัณฑ์ดับกลิ่น (ต้องมีสารออกฤทธิ์ตามประกาศ)
กลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุขกลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุข 5. ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรคหรือกำจัดกลิ่นในสระว่ายน้ำ 6. ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรค
กลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุขกลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุข 7. ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดพื้น ฝาผนัง เครื่องสุขภัณฑ์ และวัสดุอื่น ๆ
กลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุขกลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุข 8. ผลิตภัณฑ์แก้ไขการอุดตันของท่อ
กลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุขกลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัตถุอันตรายทางสาธารณสุข 9. ผลิตภัณฑ์ซักผ้าขาว 10. ผลิตภัณฑ์ซักแห้งผ้าและสิ่งทอ 11. ผลิตภัณฑ์ลบคำผิดหรือสารละลายที่ใช้เจือจาง ผลิตภัณฑ์ลบคำผิด 12. ผลิตภัณฑ์กาวที่ประกอบด้วยสาร Alkyl cyanoacrylate
วัตถุอันตรายที่ห้ามใช้วัตถุอันตรายที่ห้ามใช้ 1. ผลิตภัณฑ์ที่มีสารที่ขัดขวางระบบการทำงานของร่างกายเป็นการชั่วคราวเพื่อป้องกันตัวหรือทำร้ายผู้อื่น 2. สีย้อมในผลิตภัณฑ์อาหาร 3. เมทธานอล ในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ฉีดพ่น และผลิตภัณฑ์ที่การใช้ต้องสัมผัสกับผิวหนังหรืออาหาร (เชื้อเพลิงอุ่นอาหารที่มีเมทธานอลเกิน 1 % V/V)
วัตถุอันตรายที่ห้ามใช้วัตถุอันตรายที่ห้ามใช้ 4. ผลิตภัณฑ์กำจัดสัตว์แทะ และผลิตภัณฑ์ป้องกันกำจัดแมลงที่มีสารตามประกาศ - เช่น Chlordane , Aldrin , Arsenic trioxide 5. VCM และ CFCs ที่ใช้เป็นสารขับดันในผลิตภัณฑ์ชนิดฉีดพ่น 6. CARBON TETRACHLORIDE ในผลิตภัณฑ์ซักแห้ง หรือลบคำผิด
วัตถุอันตรายที่ได้รับการยกเว้นการขึ้นทะเบียน (แต่ต้องแสดงฉลากตามที่กำหนด) 1. Naphthalene (ลูกเหม็น) 2. o-Dichlorobenzene 3. p-Dichlorobenzene (ก้อนดับกลิ่น) 4. ผลิตภัณฑ์ลบหรือแก้ไขคำผิดที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย หรือมีรูปแบบเป็นแผ่นหรือแถบที่มีลักษณะการใช้โดยไม่ต้องใช้ตัวทำละลายใด ๆ
การนำการประเมินความเสี่ยงมาใช้การนำการประเมินความเสี่ยงมาใช้ 1. การพิจารณาเสนอออกประกาศควบคุมสารหรือผลิตภัณฑ์ใดเป็นวัตถุอันตราย 2. การพิจารณาการรับขึ้นทะเบียน และการอนุญาตสถานที่ประกอบการวัตถุอันตราย 3. การเฝ้าระวังและทบทวนทะเบียนตำรับวัตถุอันตราย - Surveillance - APR - การศึกษาวิจัย
ประเด็นข้อมูลประกอบการพิจารณาควบคุมประเด็นข้อมูลประกอบการพิจารณาควบคุม 1. ความเป็นพิษต่อมนุษย์ 2. คุณสมบัติทางเคมี / กายภาพ 3. ผลต่อสิ่งแวดล้อม 4. สารตกค้างในอาหาร 5. การรับสัมผัส 6. ข้อตกลงระหว่างประเทศ 7. การใช้ในทางที่ผิด
ประเด็นที่พิจารณาประกอบการขึ้นทะเบียนประเด็นที่พิจารณาประกอบการขึ้นทะเบียน 1. ความเป็นพิษ/อันตรายของสารหรือผลิตภัณฑ์ เช่น- ค่าความเป็นพิษต่าง ๆ - ความเข้มข้น (Concentration) - ลักษณะ/รูปแบบของผลิตภัณฑ์ - ลักษณะรูปแบบที่ใช้ - การรับสัมผัส - ฯลฯ
ประเด็นที่พิจารณาประกอบการรับขึ้นทะเบียนประเด็นที่พิจารณาประกอบการรับขึ้นทะเบียน 2. โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง (ทั้งในบ้านเรือนและในสถานประกอบการ ตลอดจนการแสดงฉลาก) - การใช้ - การผลิต - การขนส่ง - การเก็บรักษา - การทำลาย
วิธีการประเมินของกอง วพ. 1. ประเมินเอง (ตามประเด็นการพิจารณาข้างต้น) 2. พิจารณาเทียบเคียงกับข้อมูลการอนุญาตจากแหล่งอื่นประกอบ เช่น - การขึ้นทะเบียนในประเทศอื่น - ข้อกำหนด/อัตราที่แนะนำให้ใช้ของหน่วยงานที่เชื่อถือได้ เช่น WHO , US-EPA - เอกสารวิชาการที่เชื่อถือได้ 3. ให้นักวิชาการภายนอกเป็นผู้ประเมิน
การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายการจัดเตรียมเอกสารการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายการจัดเตรียมเอกสาร 1. คำขอขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย 2. ข้อมูลของสารหรือวัตถุอันตราย (เฉพาะสารใหม่ที่ อย. ยังไม่เคยนับขึ้นทะเบียน) ข้อมูลทั่วไป , คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพ วิธีวิเคราะห์ , ความเป็นพิษ , ผลกระทบต่อสิ่ง แวดล้อม , ประโยชน์ อัตราการใช้ และลักษณะที่แนะนำให้ใช้
การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายการจัดเตรียมเอกสารการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายการจัดเตรียมเอกสาร 3. ข้อมูลของผลิตภัณฑ์ - ข้อมูลทั่วไป พร้อมสูตรส่วนประกอบทั้งหมด - คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพ - ผลการทดสอบประสิทธิภาพ - กรรมวิธีการผลิต 4. การบรรจุ ชนิด ขนาด และวัสดุที่ใช้
การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายการจัดเตรียมเอกสารการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายการจัดเตรียมเอกสาร 5. เอกสารแสดงค่าความเป็นพิษ (LD50) (จากการคำนวณ หรือจากการทดสอบ) 6. ตัวอย่างฉลาก 7. สำเนาหนังสือการจดทะเบียนนิติบุคคล 8. หนังสือมอบอำนาจ 9. อื่น ๆ เช่น ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ภาพถ่ายภาชนะบรรจุ (กรณีที่เจ้าหน้าที่แจ้งขอ)
ฉลากผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย (ที่จำหน่าย) ต้องแสดง 1. เลขทะเบียน (อย.วอส.) 2. ชื่อการค้า 3. ชื่อและอัตราส่วนสารสำคัญ 4. ประโยชน์ * 5. วิธีใช้ * 6. คำเตือน/ข้อควรระวัง * อาจอยู่ในใบแทรกได้
ฉลากผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายฉลากผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย ต้องแสดง 7. วิธีเก็บรักษา * 8. ขนาดบรรจุ * 9. ชื่อและที่ตั้งผู้ผลิต ผู้นำเข้า * อาจอยู่ในใบแทรกได้
ฉลากผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายฉลากผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย อาจมีเพิ่มเติม 1. อาการเกิดพิษ * 2. วิธีแก้พิษเบื้องต้น * 3. คำแนะนำสำหรับแพทย์ * 4. วันที่หมดอายุการใช้ * 5. วิธีการทำลายภาชนะบรรจุ * 6. เครื่องหมายแสดงความเป็นพิษ * อาจอยู่ในใบแทรกได้
กลุ่มสารเคมีในวัตถุอันตรายที่ขึ้นทะเบียนไว้กลุ่มสารเคมีในวัตถุอันตรายที่ขึ้นทะเบียนไว้ 1. กลุ่มสารป้องกัน กำจัด ไล่แมลง กลุ่ม Organophosphate เช่น Chlorpyrifos , DDVP กลุ่ม Pyrethroids เช่น d-Allethrin, Permethrin กลุ่ม Carbamate เช่น Propoxur กลุ่มอื่น ๆ เช่น Fipronil , Imidacloprid กลุ่มสารไล่ยุง เช่น DEET, Citronella oil, IR3535 กลุ่มสารดับกลิ่นไล่แมลง เช่น p-Dichlorobenzene
กลุ่มสารเคมีในวัตถุอันตรายที่ขึ้นทะเบียนไว้กลุ่มสารเคมีในวัตถุอันตรายที่ขึ้นทะเบียนไว้ 2. กลุ่มผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อโรค กรด เช่น HCl , Phosphoric acid ด่าง เช่น Sodium hydroxide Anionic surfactant เช่น LAS Nonionic surfactant เช่น Alcohol ethoxylate Cationic surfactant เช่น Benzalkonium chloride กลุ่มที่ให้ Chlorine กลุ่มของสาร Phenols กลุ่มตัวทำละลาย (Solvent)