1 / 15

เสนอ

เนื้อหาเรื่องฟิสิกส์. เสนอ. อ. ศรีทัศน์ วัยวัฒนะ. จัดทำโดย. นายเฉลิมพล ภัทราพรพิสิฐ. วิธีการใช้. เลือกคลิกที่ รูป 1ครั้ง เพื่อเข้าไปดูเนื้อหา. เรื่อง. การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์. พลังงานจลน์. การหาความชัน ( slope) ของกราฟ.

ilario
Download Presentation

เสนอ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เนื้อหาเรื่องฟิสิกส์ เสนอ อ. ศรีทัศน์ วัยวัฒนะ จัดทำโดย นายเฉลิมพล ภัทราพรพิสิฐ

  2. วิธีการใช้ เลือกคลิกที่ รูป 1ครั้ง เพื่อเข้าไปดูเนื้อหา

  3. เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ พลังงานจลน์ การหาความชัน (slope) ของกราฟ ความเร็วและความเร่งของของการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย

  4. การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์ • การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์(Motion of a Projectile)คือการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นแนวโค้ง • ในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่อย่างเสรีด้วยแรงโน้มถ่วงคงที่ เช่น วัตถุเคลื่อนที่ไปในอากาศภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก ทางเดินของวัตถุจะเป็นรูปพาราโบลา • ข้อควรจำ • สำหรับการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์ • 1) ความเร่งในแนวระดับ (แกน x) = ศูนย์ นั่นคือ vx = คงที่ = ux ไม่ว่าวัตถุจะอยู่ที่ตรงไหนก็ตาม • พิสูจน์ ไม่มีแรงในแนวแกน X กระทำที่วัตถุ • จาก Fx = max O = max ax = 0 • จาก vx = ux + axt; ได้ vx = ux • 2) ความเร่งในแนวดิ่ง (แกน Y ) = g • พิสูจน์ มีแรงกระทำที่วัตถุคือ w = mg ในทิศดิ่งลงตามแกน Y • จาก Fy = may mg = may ay = g ทิศดิ่งลง • 3) เวลาที่วัตถุใช้เคลื่อนที่ตามแนวโค้ง = เวลาที่เงาของวัตถุใช้เคลื่อนที่ตามแนวแกน X = เวลาที่เงาของวัตถุใช้เคลื่อนที่ ตามแนวแกน Y กลับไปดูใหม่ ไปกันต่อเถอะครับ

  5. ตามรูปข้างบน สมมุติวัตถุวิ่งจาก O ไปตามทางโค้ง (เส้นประ) ถึง A (ทางโค้ง OA) • เงาทางแกน X จะวิ่งจาก O ไปถึง B • เงาทางแกน Y จะวิ่งจาก O ไปถึง C • ดังนั้น tOA = tOB = tOC • 4) ความเร็ว v ณ จุดใด ๆ จะมีทิศสัมผัสกับเส้นทางเดิน (เส้นประ) ณ จุดนั้น และ • (1) หาขนาดของ v โดยใช้สูตร • เมื่อ vx = ux = ความเร็วในแนวแกน X • vy = ความเร็วในแกน Y • ทิศทางของ v หาได้โดยสูตร กลับไปดูใหม่ ไปกันต่อเถอะครับ

  6. เมื่อ x = มุมที่ v ทำกับแกน X • ณ จุดสูงสุด • vx = ux vy = 0 • หมายเหตุ บางทีเราเรียกวัตถุที่เคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์ว่า "โปรเจกไตล์" และเราเรียกการเคลื่อนที่นี้ว่า การเคลื่อน • ที่ของโปรเจกไตล์ • วิธีคำนวณ • 1) ตั้งแกน X ให้อยู่ในแนวระดับ และแกน Y อยู่ในแนวดิ่ง โดยจุดกำเนิด (origin) ต้องอยู่ที่จุดเริ่มต้น • 2) แตกเวกเตอร์ทุกค่าคือ ความเร็ว ระยะทาง ให้อยู่ในแนวแกน X และ Y • 3) คิดทางแกน X มีสูตรเดียว เพราะ ax = 0 คือ • 4) คิดทางแกน Y ใช้สูตรทุกสูตรต่อไปนี้ กลับไปดูใหม่ ไปกันต่อเถอะครับ

  7. 5) กำหนดว่าทิศทางใดเป็นบวก (+) ทิศตรงข้ามจะเป็นลบ (-) แล้วแทนเครื่องหมาย + และ - ในเวกเตอร์ต่อไปนี้ Sx, Sy, Ux, Uy, Vy, ay สำหรับเวลาเป็น ปริมาณสเกลาร์เป็น + เท่านั้น • ปกติ นิยมให้ทิศทางเดียวกับความเร็วต้น (ux และ uy ) เป็นบวก (+) • 6) เมื่อคิดทางแกน X และแกน Y ตามข้อ 3),4)และ 5) แล้ว จะได้ 2 สมการ จากนี้ก็แก้สมการทั้งสอง ถ้ายังไม่สามารถแก้สมการได้ให้ใช้ความสัมพันธ์จากรูป ดังนี้ • เมื่อ x = มุมที่ v ทำกับแกน X • ณ จุดสูงสุด • vx = ux vy = 0 • หมายเหตุ บางทีเราเรียกวัตถุที่เคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์ว่า "โปรเจกไตล์" และเราเรียกการเคลื่อนที่นี้ว่า การเคลื่อนที่ของโปรเจกไตล์ • ทั้งรูป (ก) และรูป (ข) ใช้ความสัมพันธ์ • เมื่อ y = ระยะทาง (การขจัด) ตามแนวแกน Y • x = ระยะทาง (การขจัด) ตามแนวแกน X • =มุมที่ OA ทำกับแกน X • โปรดสังเกตว่า y ในรูป (ก) เป็น + เพราะอยู่เหนือแกน X และ Y ในรูป (ข) เป็น - เพราะอยู่ใต้แกน X แต่เราใช้ค่า y และ x ที่เป็น + เท่านั้น กับ tan เพราะ น้อยกว่า 90 องศา ( <90 องศา) กลับไปดูใหม่ กลับไปหน้าแรก

  8. พลังงานจลน์ จากกฎของนิวตัน F=ma หรือเมื่อมีแรงกระทำต่อวัตถุ วัตถุเคลื่อนที่ ก็จะมีพลังงานของวัตถุกำลังเคลื่อนที่ พลังงานที่เกิดขึ้น เป็นพลังงานจลน์ (Kinematic) พลังงานจลน์ • เมื่อ Ek คือ พลังงานจลน์ (มีหน่วยเป็นจูล) • m คือ มวล (กิโลกรัม) • v คือ ความเร็ว (เมตร/วินาที) • แรงขนาน • เมื่อมีแรงกระทำพร้อมกันหลาย ๆ แรงกระทำต่อวัตถุก้อนเดียว แต่ละแรงมีทิศขนานกับเราเรียกว่าแรงขนาน แรงขนานมี 2 ประเภทดังนี้ • แรงขนานพวกเดียวกัน คือ แรงขนานที่มีทิศไปทางเดียวกัน กลับไปดูใหม่ ไปกันต่อเถอะครับ

  9. ถ้า y เป็นตำแหน่งแรงลัพธ์ P . xy = Q . yz R = P + Q แรงขนานต่างพวกกัน คือ แรงขนานที่มีทิศสวนทางกัน ถ้า C เป็นตำแหน่งแรงลัพธ์ P . xy = Q. xz R = P - Q แรงขนานเหล่านี้จะทำให้ผลรวมของแรงไม่เป็นศูนย์และถ้าคิดโมเมนต์ที่จุดแรงลัพธ์ผลรวมของโมเมนต์จะเป็นศูนย์ กลับไปดูใหม่ กลับไปหน้าแรก

  10. การหาความชัน (slope) ของกราฟ • การหาความชัน (slope) ของกราฟในลักษณะต่าง ๆ • เมื่อเดินขึ้นพื้นเอียงระดับความเอียง หรือความลาดชันมีความแตกต่างกัน บางพื้นเอียงมีความลาดชันมาก บางพื้นลาดเอียงความลาดชันน้อย การลาดเอียง ก็มีทั้งเอียงแบบชันขึ้นหรือลาดลง การวัดความลาดชันหรือความชัน (slope) สามารถวัดความลาดชันได้ดังรูปกราฟ กลับไปดูใหม่ ไปกันต่อเถอะครับ

  11. ถ้าเป็นเส้นตรงขนานกับแกนนอน จะได้ว่า slope มีค่าเท่ากับศูนย์ ( y = 0) • ถ้าเป็นเส้นตรงเอียงซ้ายหรือเอียงขวา จะได้ว่า slope มีค่าคงที่ • - ถ้ากราฟเอียงขวา จะได้ว่า slope คงที่บวก (+) ดังรูป Y เป็นบวก กลับไปดูใหม่ ไปกันต่อเถอะครับ

  12. - ถ้ากราฟเอียงซ้าย จะได้ว่า slope คงที่ลบ (-)ดังรูปY เป็นลบ สำหรับเส้นโค้ง การหาความชันของเส้นโค้งที่จุดใด ๆ ให้ลากเส้นสัมผัสกับเส้นโค้งที่จุดนั้น แล้วหาความชันของเส้นสัมผัส จะเป็นความชันของเส้นโค้งที่จุดนั้น กลับไปดูใหม่ กลับไปหน้าแรก

  13. ความเร็วและความเร่งของของการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่ายความเร็วและความเร่งของของการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย • ให้ vo เป็นอัตราเร็วของ P ที่เคลื่อนที่รอบวงกลม อัตราเร็วของ Q จะเท่ากับองค์ประกอบ (component) ของความเร็วของ P ในแนวดิ่ง นั่นคือ อัตราเร็วของ Q หรืออัตราเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบ SHM เป็น vocos หรือ vocos2 ft นั่นเอง • ถ้า P มีความเร็วเชิงมุมเป็น เรเดียน/วินาที และเพราะว่า A เป็นรัศมีของวงกลม จากการศึกษาการเคลื่อนที่เป็นวงกลมจะได้ว่า กลับไปดูใหม่ ไปกันต่อเถอะครับ

  14. = vo/R หรือ vo = R • ดังนั้นอัตราเร็วของ SHM = vocos2 ft = R cos2 ft • สำหรับอัตราเร่งนั้น เนื่องจาก P เคลื่อนที่เป็นวงกลม จึงมีทิศของความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง และความเร่งของ Q ก็เป็นองค์ประกอบในแนวดิ่งของความเร่งของ P • รูปที่ 2 • ถ้า ao เป็นอัตราเร่งของ P • aosin ก็เป็นอัตราเร่งของ Q • เพราะว่า P มีความเร็วเชิงมุมเป็น เรเดียน/วินาที และมีรัศมีเป็น A • จึงได้ว่า ao = w2A • ดังนั้น อัตราเร่งของ SHM = aosin = aosin2 ft = 2A sin2 ft • ค่า ในการเคลื่อนที่แบบ SHM เรียกว่า ความถี่เชิงมุม (angular frequency) โดยมีความสัมพันธ์กับความถี่ (frequency) ดังนี้ • = 2 f ข้อสังเกต เมื่อพิจารณาทิศทางของความเร็ว และความเร่งของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบ SHM แล้ว จะเห็นว่าปริมาณทั้งสองมีทิศสวนกันเสมอ ทั้งนี้เพราะแรงที่กระทำต่อวัตถุจะมีทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุเสมอ กลับไปดูใหม่ กลับไปหน้าแรก

  15. สวัสดี

More Related