731 likes | 1.31k Views
การจัดการความรู้ … สู่การปฏิบัติ Knowlegde Management : KM. ผศ.ดร.ธนพรรณ ธานี รองอธิการบดีฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ประเด็นการบรรยาย. WHY: ทำไมต้องจัดการความรู้ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
E N D
การจัดการความรู้…สู่การปฏิบัติKnowlegde Management : KM ผศ.ดร.ธนพรรณ ธานี รองอธิการบดีฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ประเด็นการบรรยาย • WHY: ทำไมต้องจัดการความรู้ • พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • การพัฒนาขีดความสามารถองค์กรสู่ความเป็นเลิศ • WHAT: การจัดการความรู้ คืออะไร • องค์กรแห่งการเรียนรู้ • ความหมายและรูปแบบของความรู้ • กระบวนการในการจัดการความรู้ • เครื่องมือในการจัดการความรู้ • HOW: การจัดทำแผนการจัดการความรู้ ทำอย่างไร • KM กับการประกันคุณภาพการศึกษา • Q & A: การจัดการความรู้
ทำไมต้อง”การจัดการความรู้” ? • สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร 1. ภาวะของการแข่งขันทั้งในปัจจุบันและอนาคต 2. กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคม และเศรษฐกิจยุคใหม่ 3. ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี 4. ความรู้ที่เพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในทุก 2 - 3 ปีการเรียนรู้ที่เร็วกว่า จะทำให้ได้เปรียบในการแข่งขัน
ทำไมต้อง”การจัดการความรู้” ? สภาพแวดล้อมภายในองค์กร 1. ความผิดพลาดซ้ำ ๆของผู้ปฏิบัติงาน 2. ความรู้อยู่ที่ผู้เชี่ยวชาญ เมื่อลาออกไปความรู้ก็จะไปกับผู้เชี่ยวชาญเหล่านั้น ทำให้องค์กรขาดความรู้นั้นไป 3. องค์กรมี Best Practice แต่ไม่เคยนำมาใช้ และบางครั้งองค์กรก็ไม่รู้ว่า Best Practice ของตนคืออะไร 4. องค์กรมีความคิดริเริ่มซ้ำซ้อน (Wheel reinvention) หรือเรื่องเดียวกันตลอดเวลา 5. องค์กรต้องการผลงานที่ดีขึ้นในเรื่องของผลกำไร และการตอบสนองที่ดีต่อลูกค้า
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546มาตรา 11 “ส่วนราชการมีหน้าที่ พัฒนาความรู้ในส่วนราชการเพื่อให้มีลักษณะเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้อง รับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถ ประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมา ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้องรวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้อง ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถสร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติ ของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ และ มีการเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามพระราช กฤษฎีกานี้” ดร.สุรพงษ์ มาลี
การพัฒนาขีดความสามารถองค์กรสู่ความเป็นเลิศการพัฒนาขีดความสามารถองค์กรสู่ความเป็นเลิศ How คนสู่ความเป็นเลิศ ระบบสู่ความเป็นเลิศ ความเป็นมืออาชีพ สั่งสมคนดี ส่งเสริมคนเก่ง รู้คน คือ มีคุณธรรม นำชีวิต รู้ถูกผิด รู้ชอบ รู้ศักดิ์ศรี รู้วินัย ใจสัตย์ซื่อ ถือความดี รู้วิถี มีจรรยา นำพาตน รู้งาน คือ มืออาชีพ ในทุกสิ่ง รู้ให้จริง รู้แก้กัน ทันเหตุผล รู้คุณภาพรู้มาตรฐานงานสากล รู้ผ่อนปรนรู้จังหวะกะแนววาง องค์กร สู่ความเป็นเลิศ การบริหารกิจบ้านเมืองการที่ดี ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
WHAT?การจัดการความรู้: แนวคิดกระบวนการและเทคนิค ดร.สุรพงษ์ มาลี
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)
องค์กรแห่งการเรียนรู้ คืออะไร ? Peter Senge ( 1990 ) กล่าวว่า องค์การเอื้อการเรียนรู้ คือ สถานที่ซึ่งทุกคนสามารถขยายศักยภาพของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถสร้างผลงานตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ เป็นที่ซึ่งเกิดรูปแบบการคิดใหม่ ๆ หลากหลายมากมาย ที่ซึ่งแต่ละคนมีอิสระที่จะสร้างแรงบันดาลใจ และเป็นที่ซึ่งทุกคนต่างเรียนรู้วิธีการเรียนรู้ร่วมกัน ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
สมรรถนะหลักขององค์กรแห่งการเรียนรู้(Core Learning Competencies) Dealing with complexity : การเผชิญกับสภาวะที่สลับซับซ้อน System Thinking Aspiration : แรงจูงใจ แรงผลักดัน Reflective Conversation : การสะท้อนความคิด Personal Mastery Mental Model Team Learning Shared Vision + Dialogue ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
ความเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคล(Personal Mastery) Personal mastery: ความใฝ่เรียนใฝ่รู้มุ่งสู่ความเชี่ยวชาญงานในหน้าที่ จะเกิดขึ้นจากการกำหนด “personal vision” อย่างชัดเจนก่อให้เกิดแรงปรารถนา และความมุ่งมั่นในการพัฒนาตนเอง การดำเนินการที่มุ่งสู่เป้าหมายส่วนตนที่ตั้งไว้ให้เป็นจริง โดยไม่ท้อถอยต่ออุปสรรคใดๆแรงบันดาลใจที่เกิดขึ้นจะก่อให้เกิดความมุ่งมั่นในการฟันผ่าอุปสรรคและเกิดความคิดสร้างสรรค์ ต่อสิ่งท้าทายข้างหน้า ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
รูปแบบความคิด/จิตใจ (Mental Model) คนแต่ละคนจะมีประสบการณ์ ทั้งทางวัฒนะธรรมและการเรียนรู้ที่ แตกต่างกัน ประสบการณ์ดังกล่าวเปรียบเสมือนรหัสทางความคิดที่ ถูกโปรแกรมไว้ “mental models” ทำให้แต่ละคนมองโลกที่เห็น แตกต่างกันไป นำไปสู่ “I’m OK but you are not OK” จึงเป็นสิ่งสำคัญยิ่งในการมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ในการนำความแตกต่าง ทางความคิดมาก่อประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ และสร้างความเข้าใจ ถึงความแตกต่างที่เกิดขึ้นส่งผลให้ทีมทำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกันShared Vision • Vision definition: “เป็นความใฝ่ฝัน และภาพที่อยากจะเป็นในอนาคต” • ทุกคนในองค์กรต้องเข้าใจ มีส่วนร่วม และเกี่ยวข้องกับผลสำเร็จในการสานวิสัยทัศน์ขององค์กรให้เป็นจริง • เราจะไม่สามารถสานวิสัยทัศน์ให้เป็นจริงได้ หากพนักงานมีส่วนร่วมเพียงเล็กน้อยเท่านั้น “ No Involvement no Commitment ” ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
การเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นทีมTeam Learning Team Learning มุ่งเน้นการเรียนรู้ควบคู่กับการทำงานของทีม - “working = learning” “Team” คือกลุ่มคนที่ปฏิบัติงานร่วมกัน และต้องพึ่งพิงการปฏิบัติงานของกันและกัน และมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (Alignment) • ทีมต้องเรียนรู้ที่จะนำเอาศักยภาพที่มีอยู่อย่างหลากหลายมาเสริมกัน เพื่อให้เกิดความสามารถที่เหนือกว่าคนๆเดียว ด้วยความคิดสร้างสรรค์ และการประสานกันในการทำงาน • การเรียนรู้ของทีม จะช่วยให้ทีมอื่นๆมีความเจริญก้าวหน้า (Cycle of learning) • การเสวนา และการหารือ (Dialogue and Discussion) ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
การคิดอย่างเป็นระบบSystems Thinking เป็นสิ่งสำคัญ มองโลกแบบบูรณาการ ยกระดับความคิด โดย มองความสัมพันธ์ระหว่างกันและกันในภาพรวม ( Interrelationships ) มากกว่า ความสัมพันธ์แบบเชิงเส้น ( Linear cause-effect chains) มองภาพเคลื่อนไหว กระบวนการเปลี่ยนแปลงมากกว่า ภาพนิ่ง เป็นการเรียนรู้ระดับองค์กร มองข้าม function มีการเชื่อมโยงภาพ ของงานทุกจุดให้สามารถรู้ว่าสิ่งที่ทำวันนี้จะเกิดผลอย่างไรในวันข้างหน้า ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
What is Knowledge? “ความรู้ หมายถึงสิ่งที่รู้ และสิ่งที่ต้องรู้ ซึ่งอาจจะเป็น ความจริง, หลักการ หรือสารสนเทศ ที่ใช้ในการ ปฏิบัติงานในบริบทต่าง ๆ
ความรู้ ถือ เป็น “สินทรัพย์” อันเป็น “ทุน” ที่สำคัญขององค์กร พันธกิจ สภาพคล่อง (Liquidity): สินทรัพย์สามารถแปลงเป็นตัวเงินได้ง่ายเพียงไร • สินทรัพย์ระยะสั้น • Inventory, Account Receivable • สินทรัพย์ระยะยาว • Equipment, Property, Goodwill สภาพคล่อง สินทรัพย์ซึ่งจับต้องได้ กลยุทธ์ ความพร้อม(Readiness): สินทรัพย์ซึ่งจับต้องไม่ได้ช่วยให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ยุทธศาสตร์ ได้มากน้อยเพียงไร ความพร้อม • ทุนมนุษย์ • ทุนลูกค้า • ทุนองค์กร Knowledge capital สินทรัพย์ซึ่งจับต้องไม่ได้ สินทรัพย์ซึ่งจับต้องไม่ได้สามารถแปลงเป็นผลลัพธ์ขององค์กรผ่านกระบวนการยุทธศาสตร์ขององค์กร ดร.สุรพงษ์ มาลี
ความรู้ มี 2 ประเภท ความรู้ที่ชัดแจ้ง(Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่เป็นเหตุเป็นผล สามารถรวบรวมและถ่ายทอด ออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น หนังสือ คู่มือ เอกสาร และ รายงานต่างๆ ตลอดจนคนสามารถเข้าถึงได้ง่าย) 1 2 3 อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย อธิบายไม่ได้ ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) ในความรู้ที่อยู่ในตัวคนแต่ละคน เกิดจากประสบการณ์ การเรียนรู้ หรือพรสวรรค์ ซึ่งถ่ายทอดออกมาเป็นเอกสาร ลายลักษณ์อักษรได้ยาก สามารถแบ่งปันกันได้ เป็นความรู้ทีทำให้เกิดการได้เปรียบในการแข่งขัน Tomohiro Takanashi สำนักงาน ก.พ.ร.
รูปแบบ/ประเภทของความรู้รูปแบบ/ประเภทของความรู้ ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) Explicit knowledge can be articulated or codified in the form of words, numbers or symbols, and is more easily passed on or communicated. เอกสาร(Document) - กฎ ระเบียบ(Rule), วิธีปฏิบัติงาน(Practice) ระบบ(System) สื่อต่างๆ – วีซีดี ดีวีดี เทป Internet Tacit knowledge is an individual’s intuitions, beliefs, assumptions and values formed as a result of experience, and the inferences the individual draws from that experience. ทักษะ(Skill) ประสบการณ์(Experience) ความคิด(Mind of individual) พรสวรรค์(Talent) ดร.สุรพงษ์ มาลี
ประเภทของความรู้ 1. ความรู้โดยนัย / เฉพาะตัว (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์ สัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงานและการแก้ปัญหา 2. ความรู้ที่ปรากฏชัดเจน (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวมและถ่ายทอดได้โดยผ่านวิธีการต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร คู่มือต่าง ๆ ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
เป้าหมายของการจัดการความรู้เป้าหมายของการจัดการความรู้ (1) เพื่อพัฒนางานคือการพัฒนาคุณภาพองค์กรให้บรรลุ ตามเป้าหมายและวิสัยทัศน์ให้เกิดสัมฤทธิ์ผลยิ่งขึ้น (2) เพื่อการพัฒนาคนคือ พัฒนาทักษะของผู้ปฏิบัติงาน (3) เพื่อการพัฒนา “ฐานความรู้” ขององค์กรหรือการเพิ่มพูนทุนความรู้หรือทุนปัญญาขององค์กร ซึ่งจะช่วยทำให้องค์กรมีศักยภาพในการฟันฝ่าความยากลำบากหรือความไม่แน่นอนในอนาคตได้ดีขึ้น (4) เพื่อการพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
กระบวนการจัดการความรู้(Knowledge Management Process) กระบวนการการจัดการความรู้ หมายถึงกระบวนการในการสรรหา หรือกำหนดองค์ความรู้ เพื่อจัดเก็บ ถ่ายทอด และแบ่งปันเพื่อก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในองค์กร ซึ่งประกอบไปด้วย 1. Create (การสร้างและถ่ายโอนองค์ความรู้) 2. Capture (การแสวงหาและการจัดเก็บองค์ความรู้) 3. Share (การแบ่งปันและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้) 4. Use (การใช้ความรู้) 5. Define (การกำหนดองค์ความรู้) ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
องค์ประกอบสำคัญของการบริหารจัดการความรู้องค์ประกอบสำคัญของการบริหารจัดการความรู้ 1. คน (People) เป็นแหล่งความรู้ และเป็นผู้นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เทคโนโลยี (Technology) เป็นเครื่องมือเพื่อให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บ แลกเปลี่ยน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ได้อย่างง่ายและรวดเร็วขึ้น 3. กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Process) เป็นการบริหารจัดการเพื่อนำความรู้จากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำงานและเกิด นวัตกรรม 4. กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง ดร.สุรพงษ์ มาลี
ปัจจัยที่เอื้อและส่งเสริม(Enabler)การจัดการความรู้ปัจจัยที่เอื้อและส่งเสริม(Enabler)การจัดการความรู้ • Leadership • Structure • Culture, Behavior, Communication • Technology, Processes • Rewarding, Recognition • Measurement • Knowledge, Skills, Abilities, Competencies • Management ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
รูปแบบและเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความรู้รูปแบบและเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความรู้ (Knowledge Management Tools)
กระบวนการและรูปแบบการจัดการความรู้กระบวนการและรูปแบบการจัดการความรู้ โมเดลของสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ 5. เข้าถึง K. Access6. แลกเปลี่ยนK. Sharing7. เรียนรู้ K. Learning 1. ค้นหา K. Identify2. สร้างและแสวงหาK. Creation & Acquisition 3. จัดให้เป็นระบบ K. Organize4. ประมวลกลั่นกรอง K. Codification & Refinement K. Assets K. Vision K. Sharing โมเดลปลาทู ความรู้และการจัดการความรู้ ประพนธ์ ผาสุขยืด (2548)
องค์ประกอบหลักของ KM Knowledgeส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” Sharing (KS)ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูล ซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Vision (KV) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Assets (KA) ส่วนทางสร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT สร้าง CoPs ที่มีพลังงาน ดุจดั่งปลา “สะบัดหาง” ประพนธ์ ผาสุขยืด (2548)
“หัวปลา” • Knowledge Vision • ต้องเชื่อมต่อกับ “ภาพใหญ่” • ต้องได้ Output, Outcomes • ต้องเข้าใจบทบาท “คุณเอื้อ” • ต้องใช้ “ภาวะผู้นำ” ในทุกระดับ • “หางปลา” • Knowledge Assets ได้มาจาก “คุณกิจ” ตัวจริง • มีทั้งส่วนที่เป็น Explicit และ Tacit • มีระบบ/เทคโนโลยีที่ทำให้เข้าถึงได้ง่าย สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ KA KV KS • “ตัวปลา” • Knowledge Sharing สิ่งที่เป็น Tacit • ทำให้ได้คิด และสร้างแรงบันดาลใจ • ให้ “คุณอำนวย” ช่วยกระตุ้น และหมุน “เกลียวความรู้” ดร.สุรพงษ์ มาลี
การสร้างความรู้ (KnowledgeCreation - SECI) Tacit Tacit Tacit Explicit Tacit Explicit Explicit Explicit ดร.สุรพงษ์ มาลี
วงจรความรู้ (Knowledge Spiral: SECI Model) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) Socialization Externalization ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) Combination Internalization ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ( อ้างอิงจาก : Nonaka & Takeuchi ) สำนักงาน ก.พ.ร.
Model การจัดการความรู้ แหล่งความรู้ “SoK” (Source of Knowledge) “ค้นหา” + “คบหา” -Looking -Talking -Best Practices -CoPs “คว้า” หยิบมาใช้ -Checking -Apply Capture & Apply Cycie เรียนรู้ ระหว่างทำ Leadership Purpose Principles Paradigm -SoK (List คน, องค์กร, Web) -BoK (ตาม issue) -Handbook (นักปฏิบัติการจัดการความรู้) Output ที่เด่นชัด Learning Cycle เรียนรู้ หลังทำ “ควัก” ออกมาใช้ -Checking -Apply Create & Apply Cycie “เคี่ยว” ให้ตกผลึก -Analyze Synthesize -Codify องค์ความรู้ “BoK” (Body of Knowledge) ภรณี ต่างวิวัฒน์ (2548)
ท่านจะบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กรของท่านอย่างไรท่านจะบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กรของท่านอย่างไร Knowledge Vision Knowledge Asset Knowledge Sharing ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
สมุดหน้าเหลือง Explicit Knowledge ความรู้ชัดแจ้งจับต้องได้ เอกสารวิจัย ฐานความรู้, Intranet, Internet Best Practice Database Story Telling ชุมชนแห่งการ เรียนรู้ (CoP) การหมุนงาน Tacit Knowledge ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน ทีมงาน ข้ามสายงาน IQCs ระบบพี่เลี้ยง สัมมนาเรื่อง ความรู้ต่าง ๆ (Knowledge Forum) ตัวอย่างเครื่องมือและกระบวนการ ดร.สุรพงษ์ มาลี
การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) Explicit Knowledge • เอกสาร • ฐานความรู้ • เทคโนโลยีสารสนเทศ • ทีมข้ามสายงาน • กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • และนวัตกรรม • ชุมชนแห่งการเรียนรู้ • ระบบพี่เลี้ยง • การสับเปลี่ยนงาน • การยืมตัว • เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ Tacit Knowledge ดร.สุรพงษ์ มาลี
Tacit knowledge การเล่าเรื่อง (Storytelling) ชุมชนแห่งการปฏิบัติ (CoP) การหมุนงาน ทีมงานข้ามสายงาน ระบบพี่เลี้ยง การสัมมนา Explicit knowledge เอกสาร รายงาน ฐานความรู้ อินเตอร์เน็ต อินทราเน็ต ฯลฯ เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความรู้ ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
การแสดงความคิดเห็น การปลดปล่อยความรู้ที่อยู่ในส่วนลึกของหัวใจ(ความเชื่อ)สมอง(ความคิด)และร่างกาย(การปฏิบัติ) ออกมาเป็นคำพูด การสกัดหรือถอดความรู้ในการปฏิบัติและเพื่อการปฏิบัติเป็นคำพูด มีบริบทเฉพาะ บรรยากาศและสภาพแวดล้อม ได้แก่ เวลา สถานที่ ความเป็นอิสระ ความเท่าเทียม กล้าเล่า กล้าแสดงความคิดเห็น(หากมีความคิดเห็นเหมือนหรือขัดแย้ง) เป็นธรรมชาติ และจริงใจ โดยปราศจากความเกรงใจ เกรงอาวุโส เกรงคำพูด เกรงว่าจะผิด เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ต่อยอดความรู้ การเล่าเรื่อง (Storytelling) ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
ชุมชนนักปฏิบัติ(Community of Practice -CoP) “…..a group of people who care about a common set of issues, share and develop knowledge in that domain, and thus steward a competence critical to the success of the organization.” “กลุ่มคนที่รวมตัวกันภายใต้ความรู้ และความสนใจร่วมกัน และต้องการพัฒนา และแลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น และสามารถนำไปใช้ในการปรับปรุงการทำงานของตน ซึ่งถือได้ว่าไปความสำเร็จขององค์กร” ในปัจจุบัน CoP เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการองค์ความรู้และการพัฒนา มุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
วงจรการเรียนรู้ของสมาชิก CoP ประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้จาก CoP CoP Meeting งานในหน่วยงาน ฐานความรู้ นำความรู้ใหม่ป้อนกลับ CoP ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์ ดร.สุรพงษ์ มาลี
วัฒนธรรมการเสวนา เสวนาสัญจร เสวนาสัญจร โดยจะเยี่ยมเยียนตามหน่วยงานต่างๆ ในฐานะตัวกลางในการประสานให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
ศัพท์น่ารู้ Blogging = การเขียนบล็อก การดูแลรักษา ปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง Blogger = เจ้าของบล็อก คนเขียนบล็อก / ระบบที่ update blog หรือ blog engine Blog posts/Posts / Entries= บทความที่แสดงบนเว็บ หรือ ถูก post ลงบนเว็บ ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
ความหมาย Blog เป็นเว็บไซต์สำหรับบันทึกเรื่องราวประจำวันเพื่อสื่อสารความรู้สึกนึกคิด มุมมอง ประสบการณ์ ความรู้ และข่าวสาร ที่blogger ท่านหนึ่งๆ สนใจโดยเฉพาะ เป็นการเขียนอย่างอิสระทำให้มีลักษณะเป็นธรรมชาติ สามารถแสดงออกถึงความจริงใจในเรื่องที่เขียน อาจเป็นการเขียนบันทึกส่วนตัว บทความเฉพาะด้าน เช่น การเมือง กล้องถ่ายรูป กีฬา ฯลฯ การนำเสนออาจเป็นtext, hypertext, image และมีการลิงค์ไปยังเว็บหรือบล็อกอื่นๆ ผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็นได้ และยังมีการ update อยู่เสมอ ลำปาง แม่นมาตย์ (2550)
ความสำเร็จของการดำเนินการ KM ต้องการ การจัดการหรือต้องมี“Management of the KMSystem”
ใครคือนักจัดการความรู้ใครคือนักจัดการความรู้ • “คุณเอื้อ(ระบบ)” หรือ CKO-Chief-Knowledge Officer) ทำหน้าที่ดูแลจัดระดมความคิดในกลุ่ม “คุณอำนวย” และ “คุณกิจ” ให้มีการกำหนดเป้าหมายของ KM ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจหลักขององค์กร และช่วยดูแลจัดสรรทรัพยากรสำหรับใช้ในกิจกรรม KM ดูแลระบบ KM ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งดูแลการปรับวัฒนธรรมองค์กรให้เป็นวัฒนธรรมแนวราบให้มากที่สุด วิจารณ์ พานิช (2547)
ใครคือนักจัดการความรู้ใครคือนักจัดการความรู้ • “คุณอำนวย” ทำหน้าที่ส่งเสริม เอื้ออำนวยความสะดวกต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดูดซับ (capture) ความรู้จากภายนอก และการถอดความรู้จากประสบการณ์บันทึกเป็น “ขุมความรู้” วิจารณ์ พานิช (2547)
ใครคือนักจัดการความรู้ใครคือนักจัดการความรู้ • “คุณกิจ” คือผู้สร้างความรู้ (บันทึกเป็น “ขุมความรู้” – Knowledge Assets) ใช้ความรู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และดูดซับความรู้จากภายนอก เอามาทำให้งานของตนบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ขององค์กร และของหน่วยงานความรู้ที่ “คุณกิจ” สัมผัสคือความรู้ที่แนบแน่นอยู่กับงาน วิจารณ์ พานิช (2547)
ใครคือนักจัดการความรู้ใครคือนักจัดการความรู้ • คือ “คุณประสาน” (KM Network Coordinator) ทำหน้าที่ประสานเครือข่ายจัดการความรู้ระหว่างองค์กร ระหว่างพื้นที่ และระหว่าง Issue วิจารณ์ พานิช (2547)
ใครคือนักจัดการความรู้ใครคือนักจัดการความรู้ “คุณลิขิต” คือ (Note taker) ผู้จดบันทึกต่างๆ ในกระบวนการจัดการความรู้ เป็นผู้รวบรวมจดบันทึกข้อมูลอันเกิดจากการจัดการความรู้ วิจารณ์ พานิช (2547)
ใครคือนักจัดการความรู้ใครคือนักจัดการความรู้ “คุณวิศาสตร์” (IT Wizard) ผู้ทำหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ วิจารณ์ พานิช (2547)
ใครคือนักจัดการความรู้ใครคือนักจัดการความรู้ • “ที่ปรึกษา” (consultant) กิจกรรมจัดการความรู้เป็นกิจกรรมเชิงซ้อนมีความซับซ้อนต้องใช้ “ความรู้” หรือทักษะมากมาย ต้องมีวิธีการ “ขับเคลื่อนพลังภายใน” หรือศักยภาพของมนุษย์ออกมาริเริ่มสร้างสรรค์งานและเรียนรู้ร่วมกัน วิจารณ์ พานิช (2547)