1.03k likes | 1.2k Views
หัวเรื่อง : หน้ายินดีต้อนรับเข้าบทเรียน. File : fn312_welcome_06.swf. ยินดีต้อนรับเข้าสู่ บทที่ 6 ออปชัน. ENTER. คลิกที่ปุ่มเพื่อเข้าสู่บทเรียน. เสียงดนตรี. แสดงข้อความ. File : fn312_objective_06.swf. หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์การเรียนรู้. บทที่ 6 ออปชัน. วัตถุประสงค์การเรียนรู้.
E N D
หัวเรื่อง : หน้ายินดีต้อนรับเข้าบทเรียน File : fn312_welcome_06.swf ยินดีต้อนรับเข้าสู่ บทที่ 6 ออปชัน ENTER คลิกที่ปุ่มเพื่อเข้าสู่บทเรียน เสียงดนตรี • แสดงข้อความ
File : fn312_objective_06.swf หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์การเรียนรู้ บทที่ 6 ออปชัน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจลักษณะและประเภท ของตราสารอนุพันธ์ โดยลงรายละเอียดในลักษณะและประเภทของออปชัน • เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถคำนวณ Payoffs และกำไรขาดทุนจากออปชัน รวมทั้งเข้าใจสมการการประเมินราคาออปชัน • เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของค่าปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อราคาออปชันได้ • เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจลักษณะความเสี่ยงจากการลงทุนในออปชัน พร้อมทั้งการใช้ประโยชน์จากออปชัน • เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดการวิเคราะห์ราคาออปชันกับการวิเคราะห์ราคาของวอร์แรนท์และหลักทรัพย์แปลงสภาพได้ คลิกที่ปุ่มเพื่อเข้าสู่บทเรียน ENTER • แสดงข้อความพร้อมเสียงบรรยาย สวัสดีนักศึกษา ยินดีต้อนรับนักศึกษาเข้าสู่บทเรียนที่หก เรื่องออปชัน นักศึกษาสามารถคลิกที่ปุ่มเพื่อเข้าสู่เนื้อหาบทเรียนได้เลยค่ะ
File : fn312_06_home.swf หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 6 สารบัญบท ลักษณะของตราสารอนุพันธ์ ปัจจัยที่มีผลต่อราคาออปชัน ลักษณะของออปชัน สมการประเมินราคาคอลออปชัน ประเภทของออปชัน ความเสี่ยงจากการลงทุนในออปชัน สิทธิและภาระผูกพันตามสัญญาออปชัน การใช้ประโยชน์จากออปชัน ความสามารถในการทำเงินของออปชัน วอร์แรนท์ Payoffs ของออปชัน หลักทรัพย์แปลงสภาพได้ กำไรขาดทุนจากออปชัน แบบฝึกหัดท้ายบท คลิกบทเรียนที่ต้องการศึกษา • Mouse over ที่ปุ่ม แสดง active bottom • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_01.swf • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_02.swf • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_18.swf • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_21.swf • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_26.swf • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_26.swf • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_37.swf • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_54.swf • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_55.swf • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_61.swf • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_64.swf • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_71.swf • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_77.swf • เมื่อคลิกปุ่ม แสดง File : fn312_06_exercise.swf เสียง music background
File : fn312_06_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของตราสารอนุพันธ์ ตราสารอนุพันธ์หรือ Derivative Securities หรือเรียกโดยย่อว่า “อนุพันธ์” หรือ “Derivatives” เป็นทรัพย์สินทางการเงินประเภทหนึ่ง อนุพันธ์มีลักษณะเป็นสัญญาทางการเงินที่มูลค่าขึ้นกับสินค้าอ้างอิงหรือตัวแปรอ้างอิง (underlying asset) การซื้อขายอนุพันธ์อาจทำในศูนย์ซื้อขาย (exchange) หรือตกลงกันเอง (over-the-counter) ประเภทของอนุพันธ์ตามลักษณะของสัญญา ได้แก่ Forward Futures Options Swap • แสดงเสียงบรรยาย+ภาพ • แสดงไฮไลท์และลูกศรชี้ เมื่อถึงเสียงบรรยาย Derivatives
File : fn312_06_02.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของตราสารอนุพันธ์ • ลักษณะที่สำคัญของตราสารอนุพันธ์ • เป็นพันธะหรือสิทธิ แล้วแต่กรณี • เป็นพันธะหรือสิทธิที่มีระยะเวลาสิ้นสุด • มูลค่าและราคาขึ้นกับทรัพย์สินอ้างอิง • ใช้เงินลงทุนน้อยกว่า • อัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาแรงกว่า ตกลงกันวันนี้ ปฏิบัติตามสัญญาในวันหน้า (ณ วัน หรือภายในวัน ที่กำหนดไว้แล้ว) เป็นพันธะหรือสิทธิ แล้วแต่กรณี เป็นพันธะหรือสิทธิที่มีระยะเวลาสิ้นสุด (ที่กำหนดไว้แล้ว) มูลค่าและราคาขึ้นกับทรัพย์สินอ้างอิง ใช้เงินลงทุนน้อยกว่าแสดงทุนในทรัพย์สินอ้างอิง และอัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาแรงกว่าทรัพย์สินอ้างอิง • แสดงเสียงบรรยาย+ภาพ • ขึ้นตามลำดับ
File : fn312_06_03.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของตราสารอนุพันธ์ สินค้าโภคภัณฑ์ ตราสารทางการเงิน คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา ทรัพย์สินอ้างอิงของตราสารอนุพันธ์อาจเป็นสินค้าโภคภัณฑ์หรืออาจเป็นทรัพย์สินและตราสารทางการเงิน นักศึกษาสามารถคลิกที่ปุ่มเพื่อศึกษาได้เลยค่ะ • แสดงเสียงบรรยาย+ปุ่ม • เมื่อคลิกแสดงดังนี้ • เมื่อคลิก สินค้าโภคภัณฑ์ แสดง File : fn312_06_04.swf • เมื่อคลิก ตราสารทางการเงิน แสดง File : fn312_06_05.swf
File : fn312_06_04.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของตราสารอนุพันธ์ สินค้าโภคภัณฑ์ สินค้าเกษตร ธัญพืช เครื่องดื่ม ปศุสัตว์ พลังงาน โลหะ corn wheat soy beam oats คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา ในส่วนของ สินค้าโภคภัณฑ์ ประกอบไปด้วย สินค้าเกษตร สินค้าด้านพลังงาน และสินค้า ที่เป็นโลหะ สินค้าที่เป็นเกษตรนั้นได้แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆได้แก่ แบบที่เป็น ธัญพืช เครื่องดื่ม และปศุสัตว์..นักศึกษาสามารถคลิกที่ปุ่มเพื่อศึกษารายละเอียดต่างๆได้เลยค่ะ (ธัญพืช) corn , wheat .soy beam, oats (เครื่องดื่ม)cocoa, coffee, sugar, orange juice (ปศุสัตว์)cattle, live hog (พลังงาน)crude oil, natural gas (โลหะ) aluminium, gold, tin, zinc , nickel • แสดงเสียงบรรยาย+ปุ่ม • เมื่อคลิกปุ่มแสดงดังนี้
File : fn312_06_04.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของตราสารอนุพันธ์ สินค้าโภคภัณฑ์ cocoa coffee sugar orange juice cattle live hog
File : fn312_06_04.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของตราสารอนุพันธ์ สินค้าโภคภัณฑ์ crude oil natural gas aluminium gold tin zinc nickel
File : fn312_06_05.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของตราสารอนุพันธ์ ตราสารทางการเงิน อนุพันธ์ในตราสารหนี้หรือที่เรียกว่าอนุพันธ์ในอัตราดอกเบี้ย อนุพันธ์ในเงินตราต่างประเทศ อนุพันธ์ในตราสารทุน หุ้น, ดัชนีราคาหุ้น พันธบัตรรัฐบาล เงินตราสกุลต่างๆ นำเมาส์วางที่ภาพเพื่อแสดงคำอธิบาย ตราสารการเงินได้แก่ อนุพันธ์ในตราสารทุน: หุ้น, ดัชนีราคาหุ้น อนุพันธ์ในตราสารหนี้หรือที่เรียกว่าอนุพันธ์ในอัตราดอกเบี้ย : พันธบัตรรัฐบาล อนุพันธ์ในเงินตราต่างประเทศ: เงินตราสกุลต่างๆ • แสดงเสียงบรรยาย+ภาพ • เมื่อนำเมาสไปวางที่ภาพแสดงกล่องข้อความดังตัวอย่าง
File : fn312_06_06.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของตราสารอนุพันธ์ ทรัพย์สินอ้างอิงของอนุพันธ์ในศูนย์ซื้อขายอนุพันธ์ของไทย PTTEP FUTURES PTT FUTURES ADVANC FUTURES คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา ทองคำแท่ง ศูนย์ซื้อขายอนุพันธ์ทางการเงิน ได้แก่ ตลาดอนุพันธ์ TFEX นักศึกษาสามารถคลิกที่ปุ่ม TFEX เพื่อดูข้อมูลทางการตลาดได้เลยค่ะ สินค้าอ้างอิง ได้แก่ SET 50 Index กลุ่ม ADVANC , PTT Futures , PTTEP และ ทองคำแท่ง • แสดงเสียงบรรยาย+ภาพ • ทำให้ logo TFEX เป็นปุ่ม • เมื่อคลิกแสดงตาราง market data • เมื่อเสียงบรรยาย กล่าวถึง ข้อความใด แสดงภาพนั้นซิงก์เสียง
File : fn312_06_07.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของตราสารอนุพันธ์ คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา ศูนย์ซื้อขายอนุพันธ์ทางสินค้าเกษตร ได้แก่ ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า AFET • แสดงเสียงบรรยาย+ภาพ(หมุนๆ) • ทำให้ภาพเป็นปุ่ม • เมื่อคลิกแสดง File : fn312_06_08.swf
File : fn312_06_08.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของตราสารอนุพันธ์ ศูนย์ซื้อขายอนุพันธ์ทางสินค้าเกษตร ได้แก่ ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า AFET ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ข้าวหอมมะลิ 100 % ข้าวขาว 5 % มันสำปะหลังเส้น • แสดงเสียงบรรยาย+ตาราง • แสดงภาพด้านข้างดังตัวอย่างเมื่อกล่าวถึง • ภาพ ข้าวหอมมะลิ ข้าวขาว และมันสำปะหลัง อ้างอิงจากข้อมูลด้านล่าง
File : fn312_06_09.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของตราสารอนุพันธ์ อนุพันธ์ ใน OTC ไทย กราฟ OTC คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา ข้อสังเกต การซื้อขายอนุพันธ์ในตลาด OTC มีมานานแล้ว เช่น ข้าว ธัญพืชต่างๆ และFX และปัจจุบันตลาด OTC ทั่วโลก มีปริมาณมาก - - มากกว่าการซื้อขายอนุพันธ์ในศูนย์ซื้อขาย (exchange) ประมาณ 3-4 เท่า นักศึกษาสามารถคลิกที่ ปุ่มเพื่อศึกษาเกี่ยวกับ OTC เพิ่มเติมได้เลยค่ะ • แสดงเสียงบรรยาย+ปุ่ม • เมื่อคลิกแสดง File : fn312_06_9.swf
File : fn312_06_9.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของตราสารอนุพันธ์ เคจีไอ (KGI) กราฟ OTC http://www.bis.org/statistics/derstats.htm
File : fn312_06_10.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน ออปชันเป็นตราสารอนุพันธ์ประเภทหนึ่ง ออปชันเป็นสัญญาที่ผู้ขายออปชันให้สิทธิแก่ผู้ซื้อออปชันที่จะซื้อ (หรือขาย) สินค้าอ้างอิงหรือตัวแปรอ้างอิง ในราคาใช้สิทธิ ในปริมาณและเวลาที่กำหนดตามอายุออปชัน โดยรายละเอียดเงื่อนไขต่างๆ ได้กำหนดไว้ในสัญญาออปชันแล้ว เมื่อผู้ซื้อออปชันใช้สิทธิซื้อ (หรือขาย) ตามออปชัน ถือเป็นภาระของผู้ขายออปชัน ที่ต้องขาย (หรือรับซื้อ) สินค้าอ้างอิงตามที่กำหนดไว้ในสัญญาออปชัน กรณีที่เป็นตราสารออปชันที่ซื้อขายในศูนย์ซื้อขายอนุพันธ์ รายละเอียดเงื่อนไขดังกล่าวจะเป็นไปตามมาตรฐานที่ศูนย์ซื้อขายกำหนด • แสดงเสียงบรรยาย+แผนภาพ • แสดงลูกศร+ไฮไลท์ เพื่อเน้น option
File : fn312_06_10.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน ออปชันเป็นตราสารอนุพันธ์ประเภทหนึ่ง call option put option ออปชันที่ให้สิทธิซื้อ เรียกว่า คอลออปชัน (call option) ออปชันที่ให้สิทธิขาย เรียกว่า พุทออปชัน (put option) • แสดงเสียงบรรยาย + กล่องข้อความดังตัวอย่าง • แสดงทีละกล่องซิงก์เสียง
File : fn312_06_11.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน สัญลักษณ์ของออปชันใน TFEX S50Z09C390 2 S50Z09C390 ดัชนีอ้างอิง 1 3 4 เดือน/ปี ที่ออปชันหมดอายุ 5 ประเภท ของ ออปชัน ราคาใช้สิทธิ คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา ในส่วนของสัญลักษณ์ออปชันใน TFEX ได้เขียนเป็นตัวเลขดังนี้ นักศึกษาสามารถคลิกที่ปุ่ม เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสัญลักษณ์ได้เลยค่ะ สัญลักษณ์ของออปชันใน TFEX เป็นอักษร 10 ตัว ดังตัวอย่าง โดยนับเป็น 3- 3-1-3 เช่น S50 คือ ดัชนีอ้างอิง, Z09 คือเดือน/ปีที่ออปชันหมดอายุ ,C คือ ประเภทของออปชัน และ 390 คือ ราคาใช้สิทธิ • แสดงเสียงบรรยาย + ปุ่ม • เมื่อคลิกแสดงดังตัวอย่างซิงก์เสียง • ลำดับการนำเสนออ้างอิงจากวงกลมตัวเลข
File : fn312_06_12.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน เงื่อนไขที่กำหนดในออปชัน สัญญาออปชัน ........... ........... ........... ........... สินค้าอ้างอิงหรือตัวแปรอ้างอิง ขนาดของสัญญา วันครบกำหนดอายุ ราคาใช้สิทธิ คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา เงื่อนไขต่างๆ ที่กำหนดในออปชัน ได้แก่ สินค้าอ้างอิงหรือตัวแปรอ้างอิง ขนาดของสัญญา วันครบกำหนดอายุ และราคาใช้สิทธิ นักศึกษาสามารถคลิกที่ปุ่มเพื่อศึกษาได้เลยค่ะ • แสดงเสียงบรรยาย +ปุ่ม • เมื่อคลิกแสดงดังนี้ • เมื่อคลิก สินค้าอ้างอิงหรือตัวแปรอ้างอิง แสดง File : fn312_06_13.swf • เมื่อคลิก ขนาดของสัญญา แสดง File : fn312_06_14.swf • เมื่อคลิก วันครบกำหนดอายุ แสดง File : fn312_06_15.swf • เมื่อคลิก ราคาใช้สิทธิ แสดง File : fn312_06_15.swf
File : fn312_06_13.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน สินค้าอ้างอิงหรือตัวแปรอ้างอิง สินค้าเกษตร พลังงาน โลหะ สินค้าโภคภัณฑ์ สินทรัพย์ทางการเงิน คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา ออปชันแต่ละชนิดที่ซื้อขายกันในแต่ละตลาด มีสินค้าอ้างอิงแตกต่างหลากหลายกันไป สินค้าอ้างอิงกลุ่มหนึ่งได้แก่ สินค้าโภคภัณฑ์ และสินค้าหรือตัวแปรอ้างอิงอีกกลุ่มหนึ่ง ได้แก่ สินทรัพย์ทางการเงิน และตัวแปรทางการเงิน สินค้าโภคภัณฑ์ที่รองรับสัญญาออปชัน มีหลากหลาย ทั้งสินค้าเกษตร พลังงาน โลหะ สินค้าหรือตัวแปรทางการเงินที่รองรับสัญญาออปชัน มีทั้งตราสารทุน (เช่นหุ้น ดัชนีราคาหุ้น) ตราสารหนี้ เงินตราสกุลต่างประเทศ • แสดงเสียงบรรยาย + ปุ่ม • เมื่อคลิกปุ่ม แสดงปุ่มย่อยอีก 3 ปุ่ม • คลิกปุ่มย่อยแสดง ภาพตัวอย่างประกอบ • สินทรัพย์ทางการเงินอ้างอิงจากภาพด้านล่าง • รายละเอียดของปุ่มย่อย อ้างอิงจากสไลด์ถัดไป ตราสารทุน ตราสารหนี้ สกุลเงิน สินค้าโภคภัณฑ์ สินทรัพย์ทางการเงิน
File : fn312_06_13.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน สินค้าอ้างอิงหรือตัวแปรอ้างอิง สินค้าเกษตร corn oats cocoa cattle พลังงาน crude oil natural gas โลหะ aluminium gold tin zinc nickel
File : fn312_06_13.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน สินค้าอ้างอิงหรือตัวแปรอ้างอิง ตราสารทุน ตราสารหนี้ สกุลเงิน ฿ € $ ¥ THB EUR JPY USD
File : fn312_06_14.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน ขนาดของสัญญา 2 ระบุประเภทของสินค้าอ้างอิง สัญญาออปชัน ปริมาณของสินค้าอ้างอิง หรือเรียกว่าเป็นขนาดของสัญญา (contract size) ........... ........... 4 ........... ........... 5 1 ระบุประเภทของตัวแปรอ้างอิง 1 ออปชัน เท่ากับ 100 หุ้น เมื่อผู้ซื้อออปชันเลือกที่จะใช้สิทธิ จะต้องใช้สิทธิเท่ากับจำนวนที่ระบุในขนาดของสัญญาออปชันเท่านั้น ไม่สามารถเลือกใช้สิทธิบางส่วนได้ 3 วางเมาส์ที่ข้อความเพื่อแสดงคำอธิบาย ในสัญญาออปชัน นอกจากระบุประเภทของสินค้าอ้างอิงหรือตัวแปรอ้างอิงแล้ว ศูนย์ซื้อขายออปชันจะระบุปริมาณของสินค้าอ้างอิง หรือเรียกว่าเป็นขนาดของสัญญา (contract size) ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ออปชันที่มีหุ้นสามัญเป็นสินค้าอ้างอิง ระบุขนาดของสัญญา 1 ออปชัน เท่ากับ 100 หุ้น เมื่อผู้ซื้อออปชันเลือกที่จะใช้สิทธิ จะต้องใช้สิทธิเท่ากับจำนวนที่ระบุในขนาดของสัญญาออปชันเท่านั้น ไม่สามารถเลือกใช้สิทธิบางส่วนได้ นอกจากปริมาณแล้ว ศูนย์ซื้อขายออปชันยังกำหนดมาตรฐานของสินค้าอ้างอิงไว้ด้วย • แสดงเสียงบรรยาย+กล่องข้อความ • แสดงตามลำดับ • ลำดับเสนออ้างอิงจากวงกลมตัวเลข • เมื่อนำเมาส์ไปวางที่ ข้อความ “ ขนาดของสัญญา” แสดง pop up ดังตัวอย่าง
File : fn312_06_15.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน วันครบกำหนดอายุสัญญา American Option มีระยะเวลาสิ้นสุด European Option สัญญาออปชัน พ้นกำหนดสิทธิของผู้ซื้อออปชันก็จะสิ้นสุดลง ........... ........... ........... ........... Psudo-American Option คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา สิทธิในการซื้อหรือขายที่ระบุสัญญาออปชัน มีระยะเวลาสิ้นสุดในช่วงเวลาหนึ่ง โดยกำหนดไว้แล้วในออปชัน หากพ้นกำหนดวันครบอายุสัญญา สิทธิของผู้ซื้อออปชันก็จะสิ้นสุดลง ภาระผูกพันของผู้ขายก็จะสิ้นสุดลงด้วยเช่นกัน เงื่อนไขด้านเวลาของการให้สิทธิตามออปชัน จำแนกได้เป็น 3 รูปแบบ คือ American Option , European Option , และ Psudo-American Option นักศึกษาสามารถคลิกที่ปุ่มเพื่อศึกษารูปแบบดังกล่าวได้เลยค่ะ (เสียงบรรยาย pop up ) ออปชันที่ผู้ซื้อสามารถใช้สิทธิได้ตลอดเวลาก่อนที่ออปชันจะหมดอายุ เรียกออปชันรูปแบบนี้ว่า American Optionทั้งนี้ เมื่อผู้ซื้อใช้สิทธิตามออปชันแล้ว สัญญาตามออปชันจะสิ้นสุดลง ออปชันที่ผู้ซื้อสามารถใช้สิทธิได้เฉพาะวันสุดท้ายของสัญญาเท่านั้น เรียกออปชันรูปแบบนี้ว่า European Optionทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ซื้อจะใช้สิทธิตามออปชันหรือไม่ เมื่อครบกำหนดอายุออปชัน สัญญาตามออปชันจะสิ้นสุดลง ออปชันที่ผู้ซื้อสามารถใช้สิทธิได้เป็นช่วงๆ ตามที่กำหนด ตลอดอายุออปชัน เรียกออปชันรูปแบบนี้ว่า Psudo-American Optionทั้งนี้ เมื่อผู้ซื้อใช้สิทธิตามออปชันแล้ว สัญญาตามออปชันจะสิ้นสุดลง • แสดงเสียงบรรยาย+ภาพ • เมื่อกล่าวถึง 3 รูปแบบ แสดง ปุ่ม 3 ปุ่ม เมื่อคลิกแสดง pop up +เสียงบรรยายตัวอย่าง pop up ดังสไลด์ถัดไป
File : fn312_06_16.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน วันครบกำหนดอายุสัญญา American Option ออปชันที่ผู้ซื้อสามารถใช้สิทธิได้ตลอดเวลาก่อนที่ออปชันจะหมดอายุ เรียกออปชันรูปแบบนี้ว่า American Optionทั้งนี้ เมื่อผู้ซื้อใช้สิทธิตามออปชันแล้ว สัญญาตามออปชันจะสิ้นสุดลง T O European Option ออปชันที่ผู้ซื้อสามารถใช้สิทธิได้เฉพาะวันสุดท้ายของสัญญาเท่านั้น เรียกออปชันรูปแบบนี้ว่า European Optionทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ซื้อจะใช้สิทธิตามออปชันหรือไม่ เมื่อครบกำหนดอายุออปชัน สัญญาตามออปชันจะสิ้นสุดลง T O Psudo-American Option ออปชันที่ผู้ซื้อสามารถใช้สิทธิได้เป็นช่วงๆ ตามที่กำหนด ตลอดอายุออปชัน เรียกออปชันรูปแบบนี้ว่า Psudo-American Optionทั้งนี้ เมื่อผู้ซื้อใช้สิทธิตามออปชันแล้ว สัญญาตามออปชันจะสิ้นสุดลง T O
File : fn312_06_17.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน ราคาใช้สิทธิ ราคาใช้สิทธิเพื่อ ซื้อ สินค้าอ้างอิง (call option) 4 3 (put option) สัญญาออปชัน 2 ........... ราคาใช้สิทธิเพื่อ ขาย สินค้าอ้างอิง ........... กำหนดราคาใช้สิทธิไว้แล้ว ........... ........... 1 ราคาใช้สิทธิเป็นราคาที่ผู้ซื้อออปชันสามารถใช้สิทธิซื้อหรือขายสินค้าอ้างอิงตามที่กำหนดไว้ โดยในสัญญาออปชันได้กำหนดราคาใช้สิทธิไว้แล้ว ราคาใช้สิทธิที่ระบุในคอลออปชัน เป็นราคาที่ผู้ซื้อคอลออปชันสามารถซื้อสินค้าอ้างอิง จากผู้ขายคอลออปชัน ราคาใช้สิทธิที่ระบุในพุทออปชัน เป็นราคาที่ผู้ซื้อพุทออปชันสามารถขายสินค้าอ้างอิง จากผู้ขายพุทออปชัน โดยปกติในออปชันแต่ละสัญญา ระบุราคาใช้สิทธิไว้ราคาเดียว แต่ในแต่ละช่วงเวลา จะมีออปชันที่มีสินค้าอ้างอิงชนิดเดียวกันออกซื้อขายหลากหลายสัญญา โดยแต่ละสัญญาระบุราคาใช้สิทธิแตกต่างกัน เพื่อให้ผู้ค้าในตลาดออปชันได้เลือกซื้อหรือขายได้ • แสดงกล่องข้อความ ภาพ+เสียงบรรยาย • แสดงตามลำดับ • ลำดับการนำเสนออ้างอิงจากวงกลมตัวเลข
File : fn312_06_18.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ประเภทของออปชัน จำแนกตามลักษณะของสิทธิที่กำหนดในออปชัน จำแนกตามประเภทของสินค้าอ้างอิง คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา สามารถจำแนกประเภทของออปชันได้เป็นสองกลุ่มคือ จำแนกตามลักษณะของสิทธิที่กำหนดในออปชัน จำแนกตามประเภทของสินค้าอ้างอิง • แสดงเสียงบรรยาย+ปุ่ม • เมื่อคลิกแสดงดังนี้ • เมื่อคลิก จำแนกตามลักษณะของสิทธิที่กำหนดในออปชันแสดง File : fn312_06_19.swf • เมื่อคลิก จำแนกตามประเภทของสินค้าอ้างอิง แสดง File : fn312_06_20.swf
File : fn312_06_19.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน ประเภทของออปชันตามลักษณะของสิทธิ ขายสินค้าอ้างอิง ซื้อสินค้าอ้างอิง ใช้สิทธิโดยการ ใช้สิทธิโดยการ รับซื้อสินค้าอ้างอิง ขายสินค้าอ้างอิง ผู้ออก Call ผู้ซื้อ Call ผู้ออก Put ผู้ซื้อ Put การใช้สิทธิของผู้ ซื้อ Put การใช้สิทธิของผู้ ซื้อ Call call option put option คลิกที่ปุ่มเพื่อศึกษา อาจจำแนกประเภทของออปชันตามลักษณะของสิทธิได้เป็น 2 ประเภทคือ คอลออปชัน (call option) เป็นสัญญาให้สิทธิซื้อ และพุทออปชัน (put option) เป็นสัญญาให้สิทธิขาย นักศึกษาสามารถคลิกที่ปุ่มเพื่อศึกษาแต่ละกรณีได้เลยค่ะ • แสดงเสียงบรรยาย+ปุ่ม • เมื่อคลิกแสดง animation
File : fn312_06_20.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน ประเภทของออปชันจำแนกตามประเภทของสินค้าอ้างอิง ออปชันที่มีสินค้าโภคภัณฑ์ ออปชันที่มีสินทรัพย์ทางการเงิน กรณี SET50 เป็นตัวแปรอ้างอิง คลิกที่ปุ่มเพื่อแสดงเนื้อหา เนื่องจากออปชัน เป็นตราสารที่มีสินค้าอ้างอิงรองรับสัญญาได้หลากหลายประเภท จึงสามารถจำแนกประเภทของออปชันตามประเภทของของสินค้าอ้างอิง ได้แก่ ออปชันที่มีสินค้าโภคภัณฑ์ (commodities) เป็นสินค้าอ้างอิง และออปชันที่มีสินทรัพย์ทางการเงินเป็นสินค้าอ้างอิง • แสดงเสียงบรรยาย+ภาพ • แสดงปุ่ม SET50 • เมื่อคลิกแสดง pop up ดังสไลด์ถัดไป
File : fn312_06_20.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน ประเภทของออปชันจำแนกตามประเภทของสินค้าอ้างอิง สำหรับประเทศไทย ออปชันที่ซื้อขายในตลาดอนุพันธ์หรือ TFEX (บริษัทตลาดอนุพันธ์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) หรือ The Thailand Futures Exchange Plc) ได้แก่ คอลออปชันและพุทออปชันที่มีดัชนีราคาหุ้น SET50 เป็นตัวแปรอ้างอิง • แสดง pop up + เสียงบรรยาย • คลิกปิดกลับไปยังหน้าหลัก
File : fn312_06_21.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน สิทธิและภาระผูกพันตามสัญญาออปชัน 3 4 1 ก ข 2 ค ง การลงทุนในออปชันสามารถทำได้โดยการ(1)ซื้อออปชันและ(2)ขายหรือออกออปชัน โดยอาจลงทุนใน(3)คอลออปชันและ(4)พุทออปชัน ผู้ซื้อออปชันเป็นผู้ที่อยู่ในฐานะซื้อหรือ “ลอง” (long position) ส่วนผู้ขายออปชันเป็นผู้ที่อยู่ในฐานะขายหรือ “ชอร์ต” (short position) ตามตาราง ช่องที่แสดง สถานะการ ซื้อ คอลออปชั่น (ก) สถานะการ ซื้อ พุทออปชั่น (ข) สถานะการ ออก คอลออปชั่น (ค) สถานะการ ซื้อ พุทออปชั่น (ง) • แสดงตาราง + เสียงบรรยาย • ลำดับการนำเสนออ้างอิงจากวงกลมตัวเลข • แสดงไฮไลท์ซิงก์เสียง • ตัวเลขในวงเล็บ ในส่วนของเสียงบรรยาย ใช้อ้างอิงการนำเสนอเท่านั้น
File : fn312_06_22.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน สิทธิและภาระผูกพันตามสัญญาออปชัน 6 8 • ในกรณีที่เป็น • Call Option • Put Option ใช้สิทธิ ใช้สิทธิซื้อสินค้าอ้างอิง มีสิทธิ 5 ใช้สิทธิขายสินค้าอ้างอิง 3 2 ไม่ใช้สิทธิ 7 พันธะ 1 4 ผู้ซื้อออปชัน ผู้ซื้อออปชันเป็นผู้มีสิทธิ (มิใช่พันธะ) ตามสัญญาในออปชัน ผู้ซื้อออปชันจะใช้สิทธิตามออปชันหรือจะไม่ใช้สิทธิก็ได้ ในกรณีที่ผู้ซื้อออปชันใช้สิทธิ ผู้ขายออปชันจะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดในออปชัน ผู้ขายออปชันจึงมีภาระผูกพันตามสัญญาในออปชัน ทั้งนี้ สิทธิของผู้ซื้อคอลออปชันเป็นสิทธิซื้อสินค้าอ้างอิง ส่วนสิทธิของผู้ซื้อพุทออปชันเป็นสิทธิขายสินค้าอ้างอิง • แสดงภาพและข้อความ + เสียงบรรยาย • การนำเสนออ้างอิงจากวงกลมตัวเลข
File : fn312_06_23.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน สิทธิและภาระผูกพันตามสัญญาออปชัน 1 5 2 6 4 3 7 8 (1)(2)ผู้ซื้อคอลออปชันมีสิทธิซื้อสินค้าอ้างอิงตามที่กำหนดในคอลออปชัน หรือจะไม่ใช้สิทธิก็ได้ ในกรณีผู้ซื้อคอลออปชันใช้สิทธิซื้อสินค้าอ้างอิง (3)(4)ผู้ขายคอลออปชันมีภาระผูกพันในการขายสินค้าอ้างอิงตามที่กำหนดให้แก่ผู้ซื้อคอลออปชัน (5)(6) ผู้ซื้อพุทออปชันมีสิทธิขายสินค้าอ้างอิงตามที่กำหนดในพุทออปชัน หรือจะไม่ใช้สิทธิก็ได้ ในกรณีที่ผู้ซื้อพุทออปชันใช้สิทธิขายสินค้าอ้างอิง (7)(8) ผู้ขายพุทออปชันมีพันธะที่จะรับซื้อสินค้าอ้างอิงตามที่กำหนดจากแก่ผู้ซื้อพุทออปชัน • แสดงตาราง + เสียงบรรยาย • แสดงไฮไลท์ซิงก์เสียง • ลำดับการนำเสนออ้างอิงจากวงกลมตัวเลข • ลำดับตัวเลขในวงเล็บอ้างอิงการนำเสนอ
File : fn312_06_24.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน สิทธิและภาระผูกพันตามสัญญาออปชัน • เมื่อผู้ซื้อออปชันได้ใช้สิทธิตามสัญญา • เมื่อออปชันหมดอายุ • เมื่อผู้ซื้อออปชันปิดฐานะ ทำ closing sale สิทธิของผู้ซื้อออปชันจะสิ้นสุดลงตามกรณีใดกรณีหนึ่ง ต่อไปนี้ เมื่อผู้ซื้อออปชันได้ใช้สิทธิตามสัญญาไปแล้ว หรือ เมื่อออปชันหมดอายุ หรือ เมื่อผู้ซื้อออปชันปิดฐานะ โดยการขายออปชันที่มีลักษณะเดียวกัน เรียกว่าผู้ซื้อออปชันทำ closing sale • แสดงภาพและข้อความ + เสียงบรรยาย
File : fn312_06_25.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน สิทธิและภาระผูกพันตามสัญญาออปชัน • มีการขายหรือรับซื้อสินค้าอ้างอิงตามสัญญาไปแล้ว • เมื่อออปชันหมดอายุ • เมื่อผู้ขายออปชันปิดฐานะทำ closing purchase ภาระผูกพันของผู้ขายออปชัน สิ้นสุดลงตามกรณีใดกรณีหนึ่ง ต่อไปนี้ มีการขายหรือรับซื้อสินค้าอ้างอิงตามสัญญาไปแล้ว อันเนื่องจากผู้ซื้อใช้สิทธิซื้อหรือขาย หรือ เมื่อออปชันหมดอายุ หรือ เมื่อผู้ขายออปชันปิดฐานะ โดยการซื้อออปชันที่มีลักษณะเดียวกัน เรียกว่าผู้ขายออปชันทำ closing purchase • แสดงภาพและข้อความ + เสียงบรรยาย
File : fn312_06_26.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน ความสามารถในการทำเงินของออปชัน • แสดงตาราง + เสียงบรรยาย • แสดงตามลำดับ ซิงก์เสียง ความสามารถในการทำเงิน (moneyness) ของคอลออปชัน ขึ้นกับระดับราคาตลาดของสินค้าอ้างอิง โดยระดับราคาตลาดของสินค้าอ้างอิง อาจสูงกว่า ต่ำกว่า หรือเท่ากับราคาใช้สิทธิ สมมติว่าออปชันชนิดหนึ่งมีหุ้นสามัญ S เป็นสินค้าอ้างอิง ราคาใช้สิทธิตามออปชันเท่ากับ X ถ้าระดับราคาหุ้น S ต่ำกว่า ราคาใช้สิทธิที่ระบุในคอลออปชัน แสดงว่าคอลออปชัน อยู่ในภาวะไม่สามารถทำเงินได้ (out-of-the-money) ถ้าระดับราคาหุ้น S เท่ากับ ราคาใช้สิทธิที่ระบุในคอลออปชัน แสดงว่าคอลออปชัน อยู่ในภาวะเสมอตัว (at-the-money) ถ้าระดับราคาหุ้น S สูงกว่า ราคาใช้สิทธิที่ระบุในคอลออปชัน แสดงว่าคอลออปชัน อยู่ในภาวะทำเงินได้ (in-the-money)
File : fn312_06_27.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน ความสามารถในการทำเงินของออปชัน • แสดงตาราง + เสียงบรรยาย • แสดงตามลำดับ ซิงก์เสียง ความสามารถในการทำเงิน (moneyness) ของพุทออปชัน ขึ้นกับระดับราคาหุ้น S ณ วันที่ออปชันกำลังหมดอายุ โดยระดับราคาหุ้น S อาจสูงกว่า ต่ำกว่า หรือเท่ากับราคาใช้สิทธิ ถ้าระดับราคาหุ้น S ต่ำกว่าราคาใช้สิทธิที่ระบุในพุทออปชัน แสดงว่าพุทออปชัน อยู่ในภาวะทำเงินได้ (in-the-money) ถ้าระดับราคาหุ้น S เท่ากับราคาใช้สิทธิที่ระบุในพุทออปชัน แสดงว่าพุทออปชัน อยู่ในภาวะเสมอตัว (at-the-money) ถ้าระดับราคาหุ้น S สูงกว่าราคาใช้สิทธิที่ระบุในพุทออปชัน แสดงว่าพุทออปชัน อยู่ในภาวะไม่สามารถทำเงินได้ (out-of-the-money)
File : fn312_06_28.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน Payoffs ของออปชัน Payoffs ของออปชัน หมายถึง มูลค่าที่ผู้ซื้อออปชันได้รับจากการใช้สิทธิหรือจากการไม่ใช้สิทธิตามออปชัน ณ วันสิ้นสุดอายุของออปชัน อาจเรียก Payoff ว่าเป็นมูลค่าที่แท้จริง (intrinsic value) ของออปชัน ณ วันที่ออปชันหมดอายุ ทั้งนี้มูลค่าดังกล่าวยังมิได้หักด้วยค่าพรีเมียมของออปชัน เพื่อความสะดวกในการทำความเข้าใจ ในที่นี้จะใช้สัญลักษณ์แทนความหมายของคำต่างๆ ดังนี้ S หมายถึง ระดับราคาสินค้าอ้างอิง ณ วันที่ออปชันจะหมดอายุ X หมายถึง ราคาใช้สิทธิตามที่กำหนดในออปชัน • แสดงตาราง + เสียงบรรยาย
File : fn312_06_29.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน Payoffs ของออปชัน คลิกที่ตารางเพื่อแสดง กราฟ ตัวอย่าง คอลออปชันที่มีหุ้น S สินค้าอ้างอิง กำหนดราคาใช้สิทธิเมื่อออปชันสิ้นสุดอายุ เท่ากับ 50 บาท ค่าพรีเมียมเท่ากับ 2 บาท หากระดับราคาหุ้น S ณ วันที่ออปชันจะหมดอายุอาจเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง คือเท่ากับ 40 หรือ 45 หรือ 55 หรือ 60 หรือ 65 หรือ 70 บาท ดังนั้น Payoff หรือเงินรับของผู้ถือคอลออปชันฉบับนี้ จึงอาจเท่ากับค่าใดค่าหนึ่ง ตามตาราง และแสดงในรูป • แสดงตาราง + เสียงบรรยาย • แสดงตามลำดับ ซิงก์เสียง • ทำให้ตารางเป็นปุ่ม • เมื่อคลิกแสดง pop up ดัง File : fn312_06_30.swf
File : fn312_06_30.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน Payoffs ของออปชัน Payoff ของ Call (บาท) 1 1 4 S (บาท) 1 3 1 X = 50 2 music • แสดง pop up+ เสียงบรรยาย • แสดงตามลำดับ ดังตัวอย่าง
File : fn312_06_31.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน สมการ Payoff ของคอลออปชัน หรือมูลค่าคอลออปชัน ณ วันครบกำหนด หรือ Intrinsic Value ของคอลออปชัน แบบที่ 1 ใช้สองสมการ Intrinsic Value of a Call = (S-X) if S > X = 0 if S < X แบบที่ 2ใช้สมการ Intrinsic Value of a Call = max (S - X, 0) สมการ Payoff ของคอลออปชัน หรือมูลค่าคอลออปชัน ณ วันครบกำหนด หรือ Intrinsic Value ของคอลออปชัน แบบที่ 1 ใช้สองสมการ Intrinsic Value of a Call ของ Call เท่ากับ S ลบ X ถ้า S มากกว่า X หรือ เท่ากับ ศูนย์ ถ้า S น้อยกว่า X แบบที่ 2 ใช้สมการ Intrinsic Value of a Call เท่ากับ ค่าที่สูงกว่า เมื่อเทียบระหว่าง S ลบ X กับ ศูนย์ • แสดงข้อความและ สมการ + เสียงบรรยาย • แสดงซิงก์เสียงบรรยาย
File : fn312_06_32.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน Payoffs ของพุทออปชัน พุทออปชัน ให้สิทธิแก่ผู้ซื้อ ผู้ซื้อพุทออปชัน ผู้ขายพุทออปชัน พุทออปชัน เป็นสัญญาที่ผู้ขายพุทออปชันให้สิทธิแก่ผู้ซื้อพุทออปชันที่จะขายสินค้าอ้างอิงหรือตัวแปรอ้างอิง ในราคาใช้สิทธิ ในปริมาณและเวลาที่กำหนดตามอายุออปชัน โดยรายละเอียดเงื่อนไขต่างๆ ได้กำหนดไว้ในสัญญาออปชันแล้ว • แสดงภาพ+ เสียงบรรยาย • แสดงแสดงตามลำดับซิงก์เสียง
File : fn312_06_33.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน Payoffs ของพุทออปชัน ตัวอย่างเช่น พุทออปชันในหุ้น S เป็นพุทออปชันที่ให้สิทธิแก่ผู้ซื้อพุทออปชัน ขายหุ้น S เมื่อออปชันสิ้นสุดอายุ ด้วยราคาใช้สิทธิที่กำหนดไว้แล้ว • แสดง + เสียงบรรยาย
File : fn312_06_34.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน Payoffs ของพุทออปชัน ตัวอย่าง พุทออปชันที่มีหุ้น S เป็นสินค้าอ้างอิง กำหนดราคาใช้สิทธิเมื่อออปชันสิ้นสุดอายุ เท่ากับ 50 บาท ค่าพรีเมียมของพุทออปชันเท่ากับ 2 บาท หากระดับราคาหุ้น S ณ วันที่ออปชันจะหมดอายุ อาจเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง คือเท่ากับ 40 หรือ 45 หรือ 50 หรือ 55 หรือ 60 หรือ 65 บาท ดังนั้น Payoff หรือเงินรับของผู้ถือพุทออปชันฉบับนี้ อาจเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามตาราง และแสดงในรูป • แสดงตาราง + เสียงบรรยาย • แสดงตามลำดับ ซิงก์เสียง • ทำให้ตารางเป็นปุ่ม • เมื่อคลิกแสดง pop up ดัง File : fn312_06_35.swf
File : fn312_06_35.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน Payoffs ของพุทออปชัน Payoff ของ Put (บาท) 1 1 X 4 S (บาท) 1 3 1 X = 50 2 คลิกที่ตารางเพื่อแสดง กราฟ music • แสดง pop up+ เสียงบรรยาย • แสดงตามลำดับ ดังตัวอย่าง
File : fn312_06_36.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ลักษณะของออปชัน สมการ Payoff ของพุทออปชัน หรือมูลค่าพุทออปชัน ณ วันครบกำหนด หรือ Intrinsic Value ของพุทออปชัน แบบที่ 1 ใช้สองสมการ Intrinsic Value of a Put = (X-S) if S < X = 0 if S > X แบบที่ 2ใช้สมการ Intrinsic Value of a Put = max (X - S, 0) แบบที่ 1 ใช้ สองสมการ Intrinsic Value ของ Put เท่ากับ X ลบ S ถ้า S น้อยกว่า X หรือเท่ากับ ศูนย์ ถ้า S มากกว่า X แบบที่ 2 ใช้สมการ Intrinsic Value ของ Put เท่ากับค่าที่สูงกว่า เมื่อเทียบระหว่าง X ลบ S กับ ศูนย์ • แสดงข้อความและ สมการ + เสียงบรรยาย • แสดงซิงก์เสียงบรรยาย
File : fn312_06_37.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา กำไรขาดทุนจากออปชัน • Payoffs ของออปชัน • สามารถคำนวณกำไรและขาดทุนจากการลงทุนในออปชันได้ • กรณีกำไรและขาดทุนของผู้ซื้อออปชัน • คำนวณโดยการหักค่าพรีเมียมออกจากค่า Payoffs • กรณีกำไรและขาดทุนของผู้ขายออปชัน • คำนวณโดยการวิเคราะห์สถานะของผู้ขายออปชัน จาก Payoffs ของออปชัน สามารถคำนวณกำไรและขาดทุนจากการลงทุนในออปชันได้ กรณีกำไรและขาดทุนของผู้ซื้อออปชัน คำนวณโดยการหักค่าพรีเมียมออกจากค่า Payoffs ส่วนกรณีกำไรและขาดทุนของผู้ขายออปชัน คำนวณโดยการวิเคราะห์สถานะของผู้ขายออปชันตามการใช้สิทธิหรือไม่ใช้สิทธิของผู้ซื้อออปชัน แล้วบวกค่าพรีเมียมในผลลัพธ์ที่ได้ • แสดงภาพ และ ข้อความ+ เสียงบรรยาย • แสดงข้อความซิงก์เสียงบรรยาย
File : fn312_06_38.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา กำไรขาดทุนจากออปชัน X หมายถึง ราคาใช้สิทธิตาม ที่กำหนดในออปชัน S X P P หมายถึง ค่าพรีเมียมของออปชัน S หมายถึง ระดับราคาสินค้าอ้างอิง ได้แก่ ราคาหุ้น S ณ วันที่ออปชันจะหมดอายุ นำ วางที่ข้อความเพื่อแสดงคำอธิบาย สัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายของคำต่างๆ ดังนี้ S หมายถึง ระดับราคาสินค้าอ้างอิง ได้แก่ ราคาหุ้น S ณ วันที่ออปชันจะหมดอายุ X หมายถึง ราคาใช้สิทธิตามที่กำหนดในออปชัน P หมายถึง ค่าพรีเมียมของออปชัน • แสดงกล่องข้อความ S X P • เมื่อนำเมาส์ไปวางแสดง เสียงบรรยาย+ pop up
File : fn312_06_39.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา กำไรขาดทุนจากออปชัน ซื้อสินค้าอ้างอิงหรือตัวแปรอ้างอิง คอลออปชัน 1 ให้สิทธิแก่ผู้ซื้อ สินค้าโภคภัณฑ์ สินทรัพย์ทางการเงิน ตัวแปรทางการเงิน ตราสารอนุพันธ์ ใช้สิทธิซื้อสินค้าอ้างอิง 2 4 S – X – P 3 6 5 ผู้ซื้อคอลออปชัน ผู้ขายคอลออปชัน 7 จะไม่ใช้สิทธิ เท่ากับ - P 8 เนื่องจากคอลออปชัน เป็นสัญญาที่ผู้ขายคอลออปชันให้สิทธิแก่ผู้ซื้อคอลออปชันที่จะซื้อสินค้าอ้างอิงหรือตัวแปรอ้างอิง ในราคาใช้สิทธิ ดังนั้น หากราคาตลาดของสินค้าอ้างอิงสูงกว่าราคาใช้สิทธิ ผู้ซื้อคอลออปชันจึงใช้สิทธิซื้อสินค้าอ้างอิง กำไรขาดทุนที่ผู้ซื้อคอลออปชันได้รับ เท่ากับ S – X – P แต่ถ้าหากราคาตลาดของสินค้าอ้างอิงต่ำกว่าหรือเท่ากับราคาใช้สิทธิ ผู้ซื้อคอลออปชันจะไม่ใช้สิทธิ และจะขาดทุนเท่ากับค่าพรีเมียมที่จ่ายไปเป็นค่าคอลออปชัน หรือกำไรขาดทุนที่ผู้ซื้อคอลออปชันได้รับ เท่ากับ - P • แสดงภาพ ข้อความ+เสียงบรรยาย • ลำดับการนำเสนออ้างอิงจากวงกลมตัวเลข
File : fn312_06_40.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา กำไรขาดทุนจากออปชัน หน่วย: บาท ตัวอย่างเช่น คอลออปชันในหุ้น S อายุคงเหลือ 1 เดือน ที่กำหนดราคาใช้สิทธิเมื่อออปชันสิ้นสุดอายุ เท่ากับ 50 บาท ค่าพรีเมียมเท่ากับ 2 บาท หากระดับราคาหุ้น S ณ วันที่ออปชันจะหมดอายุ เป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง คือเท่ากับ 40 หรือ 45 หรือ 50 หรือ 55 หรือ 60 หรือ 65 บาท กำไรขาดทุนของผู้ซื้อคอลออปชันฉบับนี้ จะเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามตารางและแสดงในรูป • แสดงตาราง+เสียงบรรยาย • เมื่อกล่าวถึง ตัวเลขหรือข้อความใดในตาราง แสดง ไฮไลท์ เพื่อเน้น ในตารางด้วย