180 likes | 496 Views
การคำนวณค่าภาษีสรรพสามิต ( รายละเอียดดูจากคำสั่งทั่วไปกรมศุลกากรที่๕/๒๕๕๗ ซึ่งมีผลตั้งแต่ ๑พฤษภาคม ๒๕๕๗เป็นต้นไป ). พงศภัค ตรีรัตนาเศรษฐ์ คณะทำงานตรวจสอบติดตามการปฏิบัติงานในระบบการให้บริการพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์.
E N D
การคำนวณค่าภาษีสรรพสามิต(รายละเอียดดูจากคำสั่งทั่วไปกรมศุลกากรที่๕/๒๕๕๗ ซึ่งมีผลตั้งแต่ ๑พฤษภาคม ๒๕๕๗เป็นต้นไป) พงศภัค ตรีรัตนาเศรษฐ์ คณะทำงานตรวจสอบติดตามการปฏิบัติงานในระบบการให้บริการพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์
พรบ.สุรา พ.ศ. 2593 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556การแก้ไขและเพิ่มบทนิยามแก้ไขบทนิยามคำว่า “สุราแช่” และ “สุรากลั่น”เพิ่มบทนิยามคำว่า “ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย”แก้ไขเพิ่มเติมบัญชีอัตราภาษีสุรา แก้ไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเสียภาษีสรรพสามิต
แก้ไขบทนิยามคำว่า “สุราแช่” และ “สุรากลั่น”สุราแช่ หมายความว่า สุราที่ไม่ได้กลั่นและให้หมายความรวมถึงสุราแช่ที่ได้ผสมกับสุรากลั่นแล้วแต่ยังมีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกินสิบห้าดีกรีด้วย เช่น เบียร์ ไวน์ สปาร์กลิ้งไวน์ และสุราแช่พื้นเมือง เป็นต้นสุรากลั่น หมายความว่า สุราที่ได้กลั่นแล้วและให้หมายความรวมถึงสุรากลั่นที่ได้ผสมกับสุราแช่แล้วแต่มีแรงแอลกอฮอล์เกินกว่าสิบห้าดีกรีด้วย เช่น สุราสามทับ สุราขาว สุราผสม สุราปรุงพิเศษ และสุราพิเศษ เป็นต้น
สรุปสาระสำคัญของพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556 กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุราใหม่
สรุปสาระสำคัญของพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556 กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุราใหม่
สรุปสาระสำคัญของพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556 กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุราใหม่
สรุปสาระสำคัญของพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556 กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุราใหม่
สรุปสาระสำคัญของพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556 กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุราใหม่
สรุปสาระสำคัญของพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556 กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุราใหม่
การคำนวณภาษีสรรพสามิตสุราแบบเดิม(ราคา CIF + อากรขาเข้า + ค่าธรรมเนียมอื่นๆ) x te = ภาษีสรรพสามิต (1 - (1.1 x te))ไวน์อัตราภาษีสรรพสามิต 60% ค่าตัวคูณ = 1.7647059 การคำนวณ =(ราคา CIF + อากรขาเข้า + ค่าธรรมเนียมอื่นๆ) x 1.7647059 = ภาษีสรรพสามิตา
พรบ.สุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556แบบใหม่ไม่ใช้ราคา CIF ในการคำนวณแต่ ใช้ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย หมายถึงผู้นำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร ตาม ม.6 ได้ขายสุราให้แก่ผู้ขายปลีก โดยรวมค่าขนส่งหรือค่าบริการอย่างอื่น ทั้งนี้ต้องเป็นราคาตามปกติในทางธุรกิจโดยสุจริตและเปิดเผย โดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม(ดูเพิ่มเติมคำสั่งทั่วไปกรมศุลกากรที่๕/๒๕๕๗)แบบเดิมเสียภาษีตามมูลค่า หรือตามปริมาณ แล้วแต่ว่าอัตราใดจะคำนวณได้สูงกว่าแบบใหม่เสียภาษีทั้งอัตราตามมูลค่าและตามปริมาณ
แบบใหม่เสียภาษีทั้งอัตราตามปริมาณ และตามมูลค่า โดยมีวิธีการคำนวณดังนี้ 1 . คำนวณตามปริมาณ จะคำนวณ 2 แบบ คือ 1. ตาม อัตราตามลิตรแห่งแอลกอฮอล์ 2. ตาม อัตราตามลิตร ๓. ทั้งนี้ค่าภาษีที่ได้ตาม ๑ และ ๒ เปรียบเทียบจำนวนใดสูงกว่าให้ใช้มูลค่าจำนวนนั้น ๔. คำนวณตามดีกรีที่สูงกว่า จากที่กำหนดไว้ในอัตราภาษี (ดีกรีที่เกินกว่ากฎหมายกำหนด) รวมมูลค่าภาษีตามปริมาณ เท่ากับ ๓+๔ ๒. คำนวณตามมูลค่า ราคาขายช่วงสุดท้ายไม่รวม VAT x อัตรา รวมค่าภาษีสรรพสามิตสุราทั้งหมดเท่ากับ มูลค่าภาษีตามปริมาณ (๓+๔) + ภาษีตามมูลค่า
สรุปการคำนวณค่าภาษีสรรพสามิตแบบใหม่สรุปการคำนวณค่าภาษีสรรพสามิตแบบใหม่ ภาษีตามมูลค่า 1. ภาษีตามปริมาณ (ต่อลิตรแอลกอฮอล์) ดีกรี x ขนาดบรรจุ x อัตราภาษีต่อลิตรแอลกอฮอล์ 100 ราคาขายช่วงสุดท้ายไม่รวม VAT x อัตรา 2. ภาษีตามปริมาณ (ต่อลิตร) ๓ ขนาดบรรจุ x อัตราภาษี บาท/ลิตร เปรียบเทียบข้อ 1 และ 2 จำนวนใดสูงกว่า = ๑ 3. คำนวณภาษีสุราดีกรีเกิน (ถ้ามี) ดีกรีส่วนที่เกิน x ขนาดบรรจุ x อัตราภาษี = ๒ ๒ ภาษีทั้งหมด = + + ๑ ๓ นอกจากนี้ยังมีค่า - ภาษีเพื่อมหาดไทย 10 % ของภาษีสรรพสามิต - เงินบำรุงกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 2 % ของภาษีสรรพสามิต - เงินบำรุงองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย 1.5 % ของภาษีสรรพสามิต
แบบฟอร์มแนบใบขนสินค้าขาเข้าชำระภาษีสุรา ในวันที่1 พฤษภาคม จะใช้แบบฟอร์มนี้แนบใบขนฯพร้อมกับคำสั่งและประกาศกรมศุลกากร จนท.ต้องตรวจสอบและเซ็นต์กำกับ ในระยะต่อไปเมื่อมีการพัฒนาของ software house แล้ว แบบฟอร์มนี้จะอยู่ในระบบ e- importต่อไป
ตัวอย่าง บริษัท A นำเข้าสุราแช่ชนิดเบียร์ แรงแอลกอฮอล์ 9 ดีกรี ขนาดบรรจุ 3.30 ลิตร ราคา CIF 15 บาท ผู้นำเข้ายื่นราคาขายช่วงสุดท้ายไม่รวม VAT กับสรรพสามิต กระป๋องละ 56.00 บาท การคำนวณภาษีตามปริมาณ 1. ภาษีตามปริมาณ (ลิตรแห่งแอลกอฮอล์) = ดีกรี x ขนาดบรรจุ x (อัตราภาษีบาท/ลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์) 100 = 7 x 0.330 x 155 = 3.5805 100 2. ภาษีตามปริมาณ (อัตราภาษีบาท/ลิตร) = ขนาดบรรจุ x อัตราภาษีบาท/ลิตร = 0.330 x 8 = 2.64 เทียบ 1. และ 2. ได้ค่าภาษี=3.5805 3. คำนวณภาษีสุราดีกรีเกิน ภาษีสุราตามปริมาณ = ดีกรีเกิน x ขนาดบรรจุ x อัตราภาษี (3 บาท/ลิตร) = (9 - 7) x 0.330 x 3 = 1.98 4. ภาษีสุราตามปริมาณทั้งหมด = 3.5805 + 1.98 = 5.5605
การคำนวณภาษีตามมูลค่าการคำนวณภาษีตามมูลค่า ภาษีตามมูลค่า = ราคาขายส่งช่วงสุดท้ายไม่รวม VAT x อัตราภาษี = 56 x 48% = 26.880 ภาษีสุราทั้งหมด = ภาษีสุราตามปริมาณ + ภาษีสุราตามมูลค่า = 5.5605 + 26.880 = 32.4405 ภาษีเพื่อมหาดไทย = 32.4405 x 10% = 3.2440 ภาษีกองทุนสุขภาพ = 32.4405 x 2% = 0.6488 ภาษีเพื่อการแพร่ภาพฯ = 32.4405 x 1.5% = 0.4866 รวมภาระภาษีสุราและเงินกองทุน = 32.4405 + 3.2440 + 0.6488 + 0.4866 = 36.8199 ต้นทุนกำไรของผู้นำเข้าจนถึงผู้ขายส่งช่วงสุดท้าย = 56 - 36.8199 = 19.1801 บาท
ที่กล่าวมาเป็นการคำนวณภาษีสรรพสามิต และภาษีเพื่อมหาดไทย เงินกองทุนเพื่อสุขภาพ และกองทุนเพื่อการแพร่ภาพ ซึ่งไม่เกี่ยวกับภาษีศุลกากร • ภาษีศุลกากรคำนวณจากราคา CIF • ภาษีมูลค่าเพิ่ม =(ราคาศุลกากร CIF+ภาษีศุลกากร+ภาษีสรรพสามิต ตามการคำนวณจากราคาขายส่งช่วงสุดท้าย +ค่าภาษีอื่นๆและค่าธรรมเนียม(ถ้ามี)+ภาษีเพื่อมหาดไทย) คูณด้วยอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม ( ดูข้อ ๖.๔.๑ คำสั่งทั่วไปกรมศุลกากรที่ ๕/๕๗ซึ่งยังคงเหมือนเดิมตามที่เคยปฏิบัติกันมา)