570 likes | 1.58k Views
นโยบายการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก. นพ สรา วุฒิ บุญสุข หัวหน้ากลุ่มอนามัยแม่และเด็ก กรมอนามัย. ยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก “ เก่ง ดี มีคุณธรรม กตัญญู นำครอบครัวผาสุก ”. Milestone Maternal and Child Health. EWEC ANC/WCC/LR /ศูนย์เด็กฯ คุณภาพ Model child development
E N D
นโยบายการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กนโยบายการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก นพ สราวุฒิ บุญสุข หัวหน้ากลุ่มอนามัยแม่และเด็ก กรมอนามัย
ยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก“ เก่ง ดี มีคุณธรรม กตัญญู นำครอบครัวผาสุก”
Milestone Maternal and Child Health • EWEC • ANC/WCC/LR/ศูนย์เด็กฯคุณภาพ • Model child development • Passport of Health • สำรวจพัฒนาการและพฤติกรรม โครงการ • ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรัก (Model Child Development) • CHCT (ฝากครรภ์คู่) • HAART for all • วิจัยเชิงปฏิบัติการระบบ ดูแลสตรีตั้งครรภ์แนวใหม่ • วิจัยเชิงปฏิบัติการ คลินิกเด็กดีคุณภาพ • สำรวจพัฒนาการเด็ก Denver II • แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์งานอนามัยแม่และเด็กใน อปท. • โมเดลชุมชนต้นแบบเพื่อพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก • คลินิก 3 วัย เด็กไทยฉลาด • Book start • โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวเพื่อพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กไทย • การพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในพื้นที่ทรงงาน • ธาลัสซีเมีย/เอดส์/TSH พ.ศ. 2555 2556 2550 2554 2552 2553 2551
กรอบแนวคิด “การพัฒนาแม่และเด็กอย่างครบวงจร” 20 ปี เด็กไทย เก่ง มีคุณธรรม กตัญญู นำครอบครัวผาสุก • สร้างสิ่งแวดล้อม • ที่เอื้อ • รพ.ได้มาตรฐาน • ศูนย์เด็กเล็ก • ได้มาตรฐาน • สถานประกอบ • กิจการมุมนมแม่ • ชมรมฯ ปราชญ์ • แม่อาสา • ร ร.พ่อ แม่ ปู่ ย่า • ตา ยาย • บ้านแลกเปลี่ยน • เรียนของชุมชน • มีแผนชุมชนเพื่อ • พัฒนาเด็ก • ทุนสังคม สนับสนุน • ข้อตกลงร่วม • ของชาวบ้าน • ปราชญ์ อสม. • - แกนนำนมแม่ • ดีเจน้อย/ยุวฑูต • ผู้มีจิตอาสา • ชมรมต่างๆ • ภูมิปัญญา • ท้องถิ่น • วัด /รร. • - ส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่น แผนชุมชน ขับเคลื่อน ติดตามประสาน ครัวเรือน บุคคล ครอบครัวต้นแบบ พัฒนาแม่และเด็กอย่างครบวงจร สถานบริการฯ ระบบบริการ มาตรฐาน ภาคีเครือข่ายในประเทศ/ องค์กรต่างประเทศ
ANC คุณภาพ หมายถึง การจัดระบบบริการดูแลหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ ที่พิสูจน์แล้วว่า เป็นประโยชน์ ด้วยมาตรฐานใน 6 องค์ประกอบหลัก คือ • ให้ความรู้แนวทางบริการคุณภาพ และหญิงตั้งครรภ์สมัครใจ • คัดกรองด้วยเกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ (Classifying Form) • ให้บริการดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่ • โรงเรียนพ่อแม่รายกลุ่ม หญิงตั้งครรภ์ดูแลตนเองได้ • ผู้ให้บริการซักถามและตอบคำถามรายบุคคล มีช่องทางติดต่อได้ 24 ชม.และนัดหมายครั้งต่อไป • ลงบันทึกในสมุด MCH และแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ใช้
Quality ANC Blood ExamThal/AIDS Urine Exam Eary ANC12 wks Pink book Parent school Follow up Dental
พัฒนาการสมองตั้งแต่ปฏิสนธิพัฒนาการสมองตั้งแต่ปฏิสนธิ • สมองมนุษย์พัฒนาขึ้นหลังจากการปฏิสนธิของไข่และสเปอร์ม ได้ประมาณ 3 สัปดาห์ • ในระยะไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์เซลสมองมีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็วประมาณ สองแสนห้าหมื่นเซลต่อนาที
กลุ่มที่ไม่มีภาวะเสี่ยงสูง สามารถให้การดูแลแบบพื้นฐาน (Low Risk ) 1 กลุ่มที่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ หรือมีปัจจัยเสี่ยง( High Risk ) 2 กิจกรรมบริการคุณภาพ ANC Screening at first visit
Classifying Form การประเมินภาวะเสี่ยง 18 ข้อ ดังนี้: 1. ประวัติทางสูติกรรม (Obstetric history) 2. การตั้งครรภ์ปัจจุบัน (Current pregnancy) 3. สภาวะสุขภาพทั่วไป (General medicalconditions )
ครั้งแรก (<12 สัปดาห์,+-2) 1 ครั้งที่ 2 ( 18สัปดาห์,+-2) 2 ครั้งที่ 3 ( 26 สัปดาห์ ,+-2) ครั้งที่ 5 ( 38 สัปดาห์ ,+-2) 3 5 ครั้งที่ 4 ( 32 สัปดาห์ ,+-2) 4 การนัดตรวจ ในกรณี LOW RISK ( นัดฟังผลเลือด / โรงเรียนพ่อแม่ครั้งที่ 1 ) ( นัดฟังผลเลือด / โรงเรียนพ่อแม่ครั้งที่ 2 )
โรงเรียนพ่อแม่ครั้งที่ 1 • แจ้งหรือนัดแจ้งผลเลือดโดยเร็ว • ให้การปรึกษาคู่เสี่ยงPost test counseling • ให้สุขศึกษาแบบกลุ่มในโรงเรียนพ่อแม่ • เน้นสามีมีส่วนร่วม • การออกกำลังกายในหญิงตั้งครรภ์ • โภชนาการ • การเตรียมความพร้อมสำหรับการตั้งครรภ์
แจ้งผลเลือด การวางแผนครอบครัว เยี่ยมชมห้องคลอด และสอนการเตรียมคลอด การเตรียมเต้านมและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ให้สุขศึกษาแบบกลุ่มในโรงเรียนพ่อแม่ โรงเรียนพ่อแม่ครั้งที่ 2
LR คุณภาพ 1.ห้องคลอดจัดการให้บริการได้ตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ 2.มีขบวนการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงในสตรีตั้งครรภ์และทารกแรกเกิด 3 High risk classification and referral system 4.Patograph assessment and risk monitoring 5.กระบวนการการสร้างเสริมสุขภาพตามแนวทางของโรงพยาบาลสายรักแห่งครอบครัว
INTRAPARTUM ANC LABOR ผศ.นพ.อดิเทพ เชาว์วิศิษฐ รพ รามา Birth asphyxia • Growth ANC • Weight(Mother,Fetus) Continuous monitoring • Amniotic fluid Progress of labor • Monitoring, NST Awareness** • U/S necessary**
WCC คุณภาพ เป้าประสงค์ 1.ปกป้อง ส่งเสริมและสนับสนุนให้กลุ่มเด็กแรกเกิด-5ปีได้รับการบริการตามชุดสิทธิประโยชน์อย่างครอบคลุม ทั่วถึงและเข้าถึงการบริการอย่างเสมอภาค 2.สร้างระบบในการดูแลสุขภาพเด็กแรกเกิด- 5ปีอย่างมีคุณภาพและ บูรณาการระหว่างภาครัฐและเอกชนภาคประชาชนเพื่อเด็กเจริญเติบโตพัฒนาการสมวัย
Bright Future USA for Child Health Supervision • มีจุดมุ่งหมาย คือ • การคัดกรองและเฝ้าระวังโรค • การป้องกันโรค • การส่งเสริมสุขภาพ ศิริกุล อิศรานุรักษ์
พัฒนาการเชื่อมโยงโครงข่ายใยประสาท(ต้นทุนที่แท้ของมนุษย์)พัฒนาการเชื่อมโยงโครงข่ายใยประสาท(ต้นทุนที่แท้ของมนุษย์) 2 ปี 15 เดือน 3 เดือน แรกเกิด ดร.ประภาพรรณ จูเจริญ ม มหิดล
มาตรฐาน10 กิจกรรมหลัก WCC คุณภาพ 1.มีการชักประวัติ เกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอด 2.มีการประเมินการเจริญเติบโต น้ำหนัก ส่วนสูง วัดรอบ ศรีษะ ประเมินพฤติกรรมการบริโภค 3.ประเมินความเสี่ยงมารดา โรคพันธุกรรม การติดเชื้อ 4.ประเมินความพร้อมของมารดามารดาในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการเลี้ยงลูก 5.คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยอนามัย 55 สอนผู้ปกครองดูแลลูกด้านพัฒนาการและใช้สมุดบันทึกสุขภาพ 6.เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการประเมิน กระตุ้นและส่งต่อรักษาโดยผู้เชี่ยวชาญ 7.มีการตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตามช่วงอายุ 8.ตรวจพิเศษตามช่วงอายุ 9.ให้วัคชีนตามช่วงอายุ และสังเกตุอาการผิดปกติ 10ให้ความรู้ตามแนวทางโรงเรียนพ่อ แม่ การใช้ สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก และสัดส่วนผู้ให้บริการ 1:10-15
พัฒนาการการเรียนรู้ของสมองเกี่ยวข้องกับพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการเรียนรู้ที่มีการลงมือปฏิบัติ ได้รับประสบการณ์ตรงจึงเป็นการกระตุ้นประสิทธิภาพของสมองกับการเรียนรู้ได้ดีที่สุด คาถาคือ ยิ่งฝึกยิ่งดียิ่งมีพัฒนาการ