1 / 54

อนาคตศาสตร์และการพิจารณาแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงในอนาคต โดยการใช้แบบจำลองต่างๆ

อนาคตศาสตร์และการพิจารณาแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงในอนาคต โดยการใช้แบบจำลองต่างๆ. จัดโดย วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร วปอ. ม ส 3 ณ ห้องบรรยายรวม วปอ. วันเสาร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 เวลา 14 . 00 – 15 . 30 น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

Download Presentation

อนาคตศาสตร์และการพิจารณาแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงในอนาคต โดยการใช้แบบจำลองต่างๆ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อนาคตศาสตร์และการพิจารณาแนวโน้มอนาคตศาสตร์และการพิจารณาแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงในอนาคต โดยการใช้แบบจำลองต่างๆ จัดโดย วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร วปอ. ม ส 3 ณ ห้องบรรยายรวม วปอ. วันเสาร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 เวลา 14.00 – 15.30 น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

  2. โครงร่างบรรยาย I. นิยาม “อนาคตศึกษา” II. หลักการในการศึกษาอนาคต III. กลุ่มเครื่องมือและเทคนิคคาดการณ์ภาพอนาคต IV เครื่องมือและเทคนิคคาดการณ์ภาพอนาคตเชิงปริมาณ V. เครื่องมือและเทคนิคคาดการณ์ภาพอนาคตเชิงคุณภาพ VI. การเลือกใช้เครื่องมือและเทคนิคในการศึกษาอนาคต ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  3. ”การเปลี่ยนแปลงเป็นกฏของชีวิต ใครก็ตามที่มองแต่อดีตหรือปัจจุบันจะพลาดอนาคตอย่างแน่นอน” - John F. Kennedy "ใครก็ตามที่ไม่มองไปข้างหน้า จะถูกทิ้งอยู่ข้างหลัง" —Spanish proverb "ความสนใจของข้าพเจ้าอยู่ในอนาคต เนื่องจากข้าพเจ้าจะต้องใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ที่นั่น" -- C.F. Kettering ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  4. I. นิยาม “อนาคตศึกษา” ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  5. alternative futures possibility one possibility two trends innovations revolutions, etc. …etc. possibility three • ไม่ใช่การพยากรณ์ (No predictions) • เป็น Alternative futures ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  6. อนาคตศึกษา (Futures Studies) คือ • คือ "การศึกษาอดีตและปัจจุบันเพื่อให้มีความสามารถในการคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต • เพื่อกำหนดทิศทางและขอบเขตทางเลือกที่เหมาะสมและมีพลวัต สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น • อันนำไปสู่การวางนโยบายอย่างเป็นขั้นตอนที่เชื่อมโยงปัจจุบันและอนาคต • นับเป็นการป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในระยะยาวและทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้" ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  7. II. หลักการในการศึกษาอนาคต ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  8. 1. หลักเหตุผล • ปัจจัยที่แน่นอน : ข้อมูลอดีต/ปัจจุบันนโยบาย • ปัจจัยที่ไม่แน่นอนความเหมาะสม • เหตุการณ์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนไม่มีข้อมูลในอดีต • ข้อมูลไม่มากพอ • ประเด็นที่มีความซับซ้อน ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  9. ข้อจำกัด • ความผิดพลาดสะสมของเหตุปัจจัยแต่ละตัว • เข้าใจความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆอย่าง ชัดเจนครบถ้วน ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  10. 2. หลักต่อเนื่อง • พิจารณาแนวโน้มในอดีตแล้วต่อเส้นแนวโน้มเพื่อคาดการณ์อนาคต ความเหมาะสม • เหตุการณ์ที่ไม่ผันผวนอยู่ในภาวะปกติ • มีข้อมูลในอดีตจำนวนมากเพียงพอ • เห็นแนวโน้ม (trend) ชัดเจน • คาดการณ์ระยะสั้น ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  11. ที่มา http://www.eppo.go.th/doc/strategy2546/strategy.html ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University ด

  12. ข้อจำกัด • ไม่สามารถใช้กับเหตุการณ์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นในอดีต • สภาพแวดล้อมของสิ่งที่ทำการคาดการณ์ไม่เปลี่ยนแปลงไปมากนัก ความแตกต่างจากหลักเหตุผล ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  13. 3. หลักการอุปมา • หลักการ => ศึกษาสิ่งหนึ่งได้จากสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันแต่สามารถจัดการได้ง่ายกว่า • รูปแบบที่ใช้เทียบเคียง => เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นซ้ำๆทฤษฎีกฎ ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  14. อ้างอิง แอนด์ดรูว์ วอล์คเกอร์ ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University ด

  15. 4. หลักดุลยภาพ ภาวะดุลยภาพ =>ภาวะที่สิ่งหนึ่งๆสามารถดำรงอยู่ได้โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงจนกว่าจะมีปัจจัยภายนอกมากระทบ ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  16. 5. หลักจินตนาการความเหมาะสม5. หลักจินตนาการความเหมาะสม • คาดการณ์ระยะยาว • คาดการณ์สิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้น • มักใช้ในการกำหนดวิสัยทัศน์ ข้อจำกัด • มีส่วนผสมของความคิดเห็นส่วนบุคคล ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  17. III. กลุ่มเครื่องมือคาดการณ์ภาพอนาคต • Quantitative forecasting methods • Qualitative forecasting methods ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  18. IV เครื่องมือและเทคนิคคาดการณ์ภาพอนาคตเชิงปริมาณ ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  19. เครื่องมือและเทคนิคการศึกษาอนาคตเชิงปริมาณเครื่องมือและเทคนิคการศึกษาอนาคตเชิงปริมาณ ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  20. 1. อนุกรมเวลา (Time Series) • ข้อมูลอนุกรมเวลา => ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามวันสัปดาห์เดือนไตรมาสหรือปี • ใช้ข้อมูลในอดีตของตัวแปรไม่ใช้หลักเหตุผล • ใช้หลักของความต่อเนื่อง ข้อดี • ใช้ข้อมูลของตัวแปรตัวเดียว • ลดเวลาในการพัฒนาแบบจำลอง • ลงรายละเอียดได้มาก ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  21. ข้อจำกัด • ไม่เหมาะกับการคาดการณ์ในระยะยาวหรือ large change • ไม่สามารถใช้กับเหตุการณ์ที่ไม่เคยเกิดขึ้น ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  22. Trend Extrapolation linear trend yt = c1 + c2t polynomial trendyt = c1 + c2t + c3t2 + … + cntn-1 exponential growth yt = Aert logistic growth

  23. แนวโน้มการบริโภคเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์เครื่องใช้ในบ้านของภาคเอกชนของประเทศอินเดียแนวโน้มการบริโภคเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์เครื่องใช้ในบ้านของภาคเอกชนของประเทศอินเดีย

  24. 2. แบบจำลองเศรษฐมิติ (Econometric Models) • ชี้วัดความสัมพันธ์ของตัวแปร • ตัวแปรตาม (dependent variable) ตัวแปรอิสระ (independent variable) ข้อดี • มีการตรวจสอบนัยสำคัญและค่าความเชื่อมั่นทางสถิติ • อธิบายที่มาของค่าคาดการณ์ได้ชัดเจน ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  25. ข้อจำกัด • ต้องการข้อมูลจำนวนมาก • อาจเกิดความผิดพลาดสูงในการคาดการณ์ • ปัญหาในการกำหนดตัวแบบของสมการ Multiple Regression Y = a0+ a1X1 + a2X2 + a3X3 ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  26. โครงสร้างของแบบจำลองพยากรณ์เศรษฐกิจโครงสร้างของแบบจำลองพยากรณ์เศรษฐกิจ

  27. ตัวอย่างค่าพยากรณ์จากแบบจำลองพยากรณ์เศรษฐกิจตัวอย่างค่าพยากรณ์จากแบบจำลองพยากรณ์เศรษฐกิจ

  28. 3. การจำลองสถานการณ์ (Simulation) • สมการคณิตศาสตร์และประพจน์ทางตรรก (logical expression) • Monte Carlo Simulation • ตัวอย่าง • การทำ Monte Carlo simulation การเลือกตั้ง สว. ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  29. ตัวอย่าง • Monte Carlo simulation • งานวิพากษ์การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  30. 4. ทฤษฎีเกม (Game Theory) • ใช้คาดการณ์การปฏิสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ • เช่น การดำเนินยุทธศาสตร์ทางทหาร การเจรจาทางการค้า การเมือง ฯลฯ ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  31. ตัวอย่างที่ 1 การสะสมอาวุธนิวเคลียร์

  32. ตัวอย่างที่ 2 การให้ความช่วยเหลือระหว่างประเทศ

  33. ตัวอย่างที่ 3 Cartel ของ OPEC • prisoner’s dilemma ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  34. V. เครื่องมือและเทคนิคคาดการณ์ภาพอนาคตเชิงคุณภาพ ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  35. 1.ผังต้นไม้ (Relevance Tree Technique) 2.ผังภารกิจ (Mission Flow Diagram) 3.วงล้ออนาคต (Future Wheels) 4.การตั้งชุดคำถาม (Checklist) 5.การระดมสมอง (Brainstorming) 6.ตระแกรงช่วงเวลา (Time-Space Grids) ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  36. 7.บทบาทสมมติ (Role Playing) 8.ตารางวิเคราะห์ผลกระทบไขว้ (Cross-Impact Matrix) 9.เดลฟายเทคนิค (Delphi Technique) 10.ฉากทัศน์ (Scenarios) 11. Conjoint Analysis ฯลฯ ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  37. 1. ฉากทัศน์ (Scenarios) ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  38. ฉากทัศน์ การฉายภาพแนวโน้มของเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ที่ได้ภาพอนาคตในประเด็นนั้นมากกว่า 1 ภาพ มีลักษณะเป็นทางเลือกหลายทางที่อาจเกิดขึ้นได้ ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  39. กำหนดประเด็นที่จะศึกษากำหนดประเด็นที่จะศึกษา กำหนดประเด็นที่จะศึกษา คัดเลือกปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดภาพอนาคต คัดเลือกปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดภาพอนาคต จำแนกปัจจัยแน่นอนและไม่แน่นอน จำแนกปัจจัยแน่นอนและไม่แน่นอน สร้างและอธิบายฉากทัศน์ สร้างและอธิบายฉากทัศน์ วิเคราะห์และประเมินฉากทัศน์ วิเคราะห์และประเมินฉากทัศน์ วางแผน คาดการณ์ผลลัพธ์จากแผน ผลลัพธ์เป็นที่น่าพอใจ? ไม่ใช่ ใช่ ดำเนินการ ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  40. ตัวขับเคลื่อนฉากทัศน์ตัวขับเคลื่อนฉากทัศน์ • 1 ตัว => 2 ภาพฉาย 2 ตัว => 4 ภาพฉาย 3 ตัว => 8 ภาพฉาย n ตัว => 2n ภาพฉาย • ตัวขับเคลื่อนจำนวน n ตัวแต่ละตัวมีภาพฉายจำนวน x1, x2, x3, …, xnจำนวนภาพฉายทั้งหมด => x1 x2 x3 … xn ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  41. ตัวอย่างฉากทัศน์การศึกษาเรื่อง Aging and Disability Services in Seattles Washington High Technology ฉากทัศน์ที่ 1 Bees ฉากทัศน์ที่ 2 Fireflies High Social Responsibility Low Social Responsibility ฉากทัศน์ที่ 3 Orcas ฉากทัศน์ที่ 4 Bears Low Technology ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  42. การวิเคราะห์และประเมินฉากทัศน์การวิเคราะห์และประเมินฉากทัศน์ ภาพ scenario ที่ควรสร้าง (เป็นอย่างน้อย) 1. Best case 2. Worst case 3. Most probable case นำไปสู่คำถาม 1. เราจะสามารถอยู่รอดใน Worst case scenario หรือไม่? 2. เรารู้สึกพึงพอใจกับ Most probable case หรือไม่? 3. เราได้เตรียมพร้อมฉวยโอกาสจาก Best case scenario หรือไม่? ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  43. 2. วิธีการเดลฟาย Delphi Method ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  44. Helmer, Dalkdy จาก RAND Corporation (1950) ใช้วางแผนงานในอนาคตของบริษัท • ระดมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ • แสดงความคิดเห็นอย่างเปิดเผย • เป็นอิสระไม่มีการเผชิญหน้า • มีการสื่อสารระหว่างผู้เชี่ยวชาญ • ได้คำตอบเป็นฉันทามติ ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  45. 3. Morphological Matrices ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  46. ประหยัดพลังงาน ทรงแปลกทันสมัย พร้อมสูงอายุ มีเทคโนโลยีทันสมัย ไทยไม้เทียม คอนโดฯ ทรงญี่ปุ่น ที่พักในที่ทำงาน ทรงไทย ริมน้ำ รถไฟฟ้า Metroport กลางทะเลสาบ มิติบ้านที่จะใช้ในการตัดสินใจเลือกลงทุนทำธุรกิจสร้างบ้านในอนาคต ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  47. 4. บทบาทสมมติRole Playing ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  48. พิจารณาการตอบสนองของผู้รับบทบาทสมมติภายใต้สถานการณ์จำลองพิจารณาการตอบสนองของผู้รับบทบาทสมมติภายใต้สถานการณ์จำลอง • มีการตัดสินใจจากสองฝ่ายหรือมากกว่าปฏิสัมพันธ์กัน ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  49. VI. การเลือกใช้เครื่องมือและเทคนิคในการศึกษาอนาคต ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

  50. เกณฑ์การเลือก • ความละเอียด ถูกต้องที่ต้องการ (accuracy, error) • ค่าใช้จ่ายในการคาดการณ์ (cost) • ความยาก ความซับซ้อนของวิธีการ • ลักษณะรูปแบบของข้อมูล และช่วงเวลาที่มีของข้อมูล • ขอบเขตเวลาการคาดการณ์ • ความจำกัดของเวลา (time-limited) ศาสตราจารย์ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์ Senior Fellow, Harvard Kennedy School , Harvard University

More Related