1.55k likes | 3.07k Views
การศึกษาไทย. วิสัยทัศน์. วิสัยทัศน์ (vision) เป็นการวางอนาคตที่พึงประสงค์ อุดมการณ์ ผ่านกระบวนการคิด การสังเคราะห์ วิเคราะห์จากข้อมูลพื้นฐาน กำหนดเป้าหมาย ขอบข่าย ภาระงาน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาและประสบความสำเร็จ. กระบวนการกำหนดวิสัยทัศน์ ของสถานศึกษา. 1. สำรวจข้อมูลสารสนเทศ.
E N D
วิสัยทัศน์ • วิสัยทัศน์ (vision) เป็นการวางอนาคตที่พึงประสงค์ อุดมการณ์ ผ่านกระบวนการคิด การสังเคราะห์ วิเคราะห์จากข้อมูลพื้นฐาน กำหนดเป้าหมาย ขอบข่าย ภาระงาน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาและประสบความสำเร็จ
กระบวนการกำหนดวิสัยทัศน์ของสถานศึกษากระบวนการกำหนดวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา 1. สำรวจข้อมูลสารสนเทศ 2. วิเคราะห์ผลกระทบจากปัจจัยต่าง ๆ 3. กำหนดวิสัยทัศน์ 4. ตรวจสอบวิสัยทัศน์
สำรวจข้อมูลสารสนเทศ สารสนเทศที่จำเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา เช่น สารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา สารสนเทศที่เกี่ยวกับผู้เรียน สารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการ สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สารสนเทศเพื่อการรายงาน
ตัวอย่างสารสนเทศ • สารสนเทศโรงเรียนเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา • ประวัติโรงเรียน • การก่อตั้ง………………………………… • สภาพปัจจุบัน……………….…………….. • ผู้บริหารโรงเรียน……………….…………..
แผนที่ตั้งโรงเรียน (แสดงให้เห็นชุมชนรอบสถานศึกษา วัด สถานที่สำคัญ ฯลฯ) N
สภาพแวดล้อมของโรงเรียน……………………………………………………………………..… สภาพแวดล้อมของโรงเรียน……………………………………………………………………..… • ลักษณะของชุมชน อาชีพ การคมนาคม วิถีชีวิตของบุคคลในชุมชน…………………………………………… • จุดเด่นของชุมชน…………………………………………………………………………… • จุดด้อยของชุมชน……………………….……………………………………………………
แหล่งการเรียนรู้ และสถานที่สำคัญในชุมชนที่โรงเรียนตั้งอยู่ (เช่น วัด/ ศาสนสถาน โบราณสถาน/พิพิธภัณฑ์ แหล่งเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์/ธรรมชาติ ห้องสมุด ภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ)
อาชีพและรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผู้ปกครองอาชีพและรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผู้ปกครอง
แผนผังอาคารสถานที่ของโรงเรียนแผนผังอาคารสถานที่ของโรงเรียน
จำนวนอาคาร-สถานที่จำแนกตามประเภทจำนวนอาคาร-สถานที่จำแนกตามประเภท
แผนภูมิโครงสร้างการบริหารโรงเรียนแผนภูมิโครงสร้างการบริหารโรงเรียน
จำนวนบุคลากร จำแนกตามเพศ
จำนวนผู้บริหาร และครูประจำจำแนกตามอายุ (ปี)
จำนวนผู้บริหาร ครูและบุคลากร จำแนกตามวุฒิ
จำนวนผู้บริหาร ครู จำแนกตามชั่วโมงที่สอน (ชม./สัปดาห์)
จำนวนนักเรียน จำนวนห้องเรียน จำแนกตามระดับการศึกษา • ปีการศึกษา…………………………..
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษาที่ผ่านมา จำแนกตามการเรียนต่อ/การประกอบอาชีพ
งบประมาณ • รายรับ • เงินงบประมาณ บาท • เงินบำรุงการศึกษา (โรงเรียนรัฐ) / รายได้ (โรงเรียนเอกชน) บาท • เงินบริจาค บาท • เงินอื่น ๆ (ระบุ) บาท
ตารางแสดงพื้นที่บริการของโรงเรียนตารางแสดงพื้นที่บริการของโรงเรียน
ตารางแสดงอัตราการมาเรียนของนักเรียนแต่ละชั้นต่อภาคเรียนตารางแสดงอัตราการมาเรียนของนักเรียนแต่ละชั้นต่อภาคเรียน
กราฟแสดงสถิติการลากิจ ลาป่วย ของครู นักเรียน บุคลากร
ตารางเปรียบเทียบน้ำหนัก ส่วนสูงของนักเรียน ระดับก่อนประถมศึกษากับเกณฑ์ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ตารางแสดงส่วนสูงเฉลี่ยของนักเรียนระดับก่อนประถมศึกษาเทียบกับส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ตารางแสดงความพร้อมของนักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา จำแนกตามชั้นและพัฒนาการ
ตารางแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตารางแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
กรณีที่โรงเรียนมีนักเรียนแต่ละชั้นมากกว่า 1 ห้องเรียน อาจนำเสนอในรูปแบบตาราง ดังนี้
วิสัยทัศน์ของสถานศึกษาวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา • พันธกิจและแผนยุทธศาสตร์
วิเคราะห์ผลกระทบจากปัจจัยต่าง ๆ นำข้อมูลสารสนเทศไปวิเคราะห์ผลกระทบ ด้วยเทคนิค SWOT Analysis
การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT Analysis)
ตัวอย่าง จุดแข็ง โรงเรียนมีที่ตั้งในบริเวณชุมชน การเดินทางสะดวก บุคลากรมีวุฒิตรงและได้รับการพัฒนาอย่างสม่ำเสมอ จุดอ่อน โรงเรียนไม่มีบริเวณจัดทำแหล่งการเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน
ตัวอย่าง ช่องทางและโอกาส บริเวณใกล้โรงเรียนมีสวนสาธารณะและแหล่งประกอบหลากหลายและมีความสัมพันธ์ที่ดีกับโรงเรียน อุปสรรค ผู้ปกครองเปลี่ยนงานบ่อย ทำให้ต้องย้ายนักเรียนออกจากโรงเรียน
ตัวอย่าง จุดแข็ง โรงเรียนมีที่ตั้งในบริเวณชุมชน การเดินทางสะดวก บุคลากรมีวุฒิตรงและได้รับการพัฒนาอย่างสม่ำเสมอ จุดอ่อน โรงเรียนไม่มีบริเวณจัดทำแหล่งการเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน ช่องทางและโอกาส บริเวณใกล้โรงเรียนมีสวนสาธารณะและแหล่งประกอบหลากหลายและมีความสัมพันธ์ที่ดีกับโรงเรียน อุปสรรค ผู้ปกครองเปลี่ยนงานบ่อย ทำให้ต้องย้ายนักเรียนออกจากโรงเรียน
วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
ตัวอย่างวิสัยทัศน์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบุรี วิสัยทัศน์หลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบุรี เป็นหลักสูตรมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้สู่มาตรฐานสากลและเป็นมนุษย์ที่มีความสมดุล ทั้งร่างกาย ความรู้ คุณธรรมมีความเป็นผู้นำของสังคมมีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลกโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขมีความรู้และทักษะพื้นฐานสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีรวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ
โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือโรงเรียนมหาไถ่ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วิสัยทัศน์หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นสถาบันการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ผู้เรียนมีพัฒนาการและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงในสาระภาษาอังกฤษ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม และมีทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ รู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รู้จักการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นคนดี คนเก่ง และสามารถดำรงตนอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
ปัญหาชวนคิด วิสัยทัศน์ สืบค้นวิสัยทัศน์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และวิสัยทัศน์หลักสูตรสถานศึกษา 1 แห่ง วิเคราะห์ลักษณะของวิสัยทัศน์ทั้งสองประเภท ทั้งสิ่งที่เหมือนและแตกต่างจัดทำเป็นรายงานกลุ่ม
แผนพัฒนาการศึกษาไทย แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2479 แผนการศึกษาชาติเริ่มประกาศใช้ครั้งแรก พ.ศ. 2479 ประกอบด้วย ความมุ่งหมายทั่วไป ระเบียบการศึกษา การศึกษาภาคบังคับ และแนวการจัดการศึกษา รัฐมุ่งหมายให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษา การจัดการศึกษา แบ่งเป็น พุธิศึกษา ให้มีปัญญาความรู้ จริยศึกษา ให้มีศีลธรรมอันดี พลศึกษา ให้มีร่างกายสมบูรณ์
แผนพัฒนาการศึกษาไทย ระดับการศึกษาแบ่งเป็น สามัญศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4 มัธยมต้นปีที่ 1-3 และชั้นมัธยมปลายปีที่ 4-6 อาชีวศึกษา การเข้าเรียนอุดมศึกษา ต้องสำเร็จชั้นเตรียมอุดมศึกษา ประถมศึกษาเป็นการศึกษาภาคบังคับ
แผนพัฒนาการศึกษาไทย • แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2494 • แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2494 ประกอบด้วย ความมุ่งหมาย ระเบียบการศึกษา การศึกษาภาคบังคับ การศึกษาพิเศษและการศึกษาผู้ใหญ่ แนวการจัดการศึกษา • รัฐมุ่งหมายให้พลเมืองได้รับการศึกษา • กุลบุตร กุลธิดา พึงได้รับการศึกษาอยู่ในโรงเรียนจนอายุย่างเข้า 15 ปี • การจัดการศึกษา แบ่งเป็น จริยศึกษา พลศึกษา พุทธิศึกษา หัตถศึกษา
แผนพัฒนาการศึกษาไทย • ระดับการศึกษา • การศึกษาชั้นอนุบาล • ประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4 • มัธยมศึกษา - มัธยมสามัญศึกษา มัธยมสามัญปีที่ 1 - 3 - มัธยมวิสามัญศึกษา มัธยมวิสามัญตอนต้นและตอนปลาย - มัธยมอาชีวศึกษา มัธยมอาชีวะศึกษาตอนต้นและตอนปลาย • เตรียมอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาชั้นสูง เตรียมอุดมศึกษาปีที่ 1-2 • อุดมศึกษาและมหาวิทยาลัย
แผนพัฒนาการศึกษาไทย การศึกษาบังคับ รัฐจัดให้โดยไม่เก็บค่าเล่าเรียน การศึกษาพิเศษ สำหรับกุลบุตร กุลธิดาที่ออกจากโรงเรียนเป็นครั้งคราว การศึกษาผู้ใหญ่ จัดให้กับผู้ใหญ่ทั่ว ๆ ไป ที่ไม่มีโอกาสได้รับการศึกษาในวัยเล่าเรียน สถานศึกษาพึงใช้ผู้สอนที่มีประกาศนียบัตรหรือปริญญา
แผนพัฒนาการศึกษาไทย • แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2503 • แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2503 ประกอบด้วย ความมุ่งหมาย ระดับการศึกษา ระบบโรงเรียนการศึกษาบังคับ และ แนวการจัดการศึกษา • รัฐมุ่งหมายให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษา • กุลบุตร กุลธิดา ได้รับการศึกษาอยู่ในโรงเรียนจนอายุ 15 ปีบริบูรณ์ • การจัดการศึกษา แบ่งเป็น จริยศึกษา พลศึกษา พุทธิศึกษา หัตถศึกษา
แผนพัฒนาการศึกษาไทย • ระดับการศึกษาแบ่งเป็น 4 ระดับ • การศึกษาชั้นอนุบาล • ประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาตอนต้น 4 ปี ชั้นประถมศึกษาตอนปลาย 3 ปี • มัธยมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย • มัธยมอาชีวศึกษา มัธยมอาชีวะศึกษาตอนต้นและตอนปลาย • อุดมศึกษา