170 likes | 371 Views
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร. โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้. กลุ่มส่งเสริมการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ ส่วน ส่งเสริมการผลิตผัก ไม้ดอกไม้ประดับ และพืชสมุนไพร สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร. สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร. สถานการณ์.
E N D
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตรสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้ กลุ่มส่งเสริมการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ ส่วนส่งเสริมการผลิตผัก ไม้ดอกไม้ประดับและพืชสมุนไพร สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตรสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร สถานการณ์ ผลผลิตกล้วยไม้มีคุณภาพไม่สม่ำเสมอ ขาดกล้วยไม้พันธุ์ใหม่ๆ ออกสู่ตลาด ครม.เห็นชอบยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทย ในตลาดโลก ปี 2554-2559 กรมส่งเสริมการเกษตรรับผิดชอบกลยุทธ์ด้านการผลิต และพัฒนาองค์กรเกษตรกร
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตรสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 2. เพิ่มขีดความสามารถด้านการตลาด 3. ปรับระบบการบริหารจัดการกล้วยไม้
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตรสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร เป้าหมาย ปริมาณงาน : 1,200 ราย พื้นที่เป้าหมาย : แม่ฮ่องสอน กาญจนบุรี อุบลราชธานี ศูนยฯ พืชสวน จ.สมุทรสาคร จันทบุรี กรุงเทพฯ นนทบุรี อยุธยา ชลบุรี สมุทรสาคร นครปฐม ราชบุรี ศูนยฯ พืชสวน จ.กระบี่ ตรัง
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตรสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร Conceptโครงการ ส่งเสริมคลัสเตอร์กล้วยไม้ *สัมมนาหน่วยงานพันธมิตรฯ *ประชุมเชิงปฏิบัติการผู้นำกลุ่มเกษตรกร *อบรมเกษตรกรจัดทำแผนและเชื่อมโยง เครือข่าย ส่งเสริมสวนกล้วยไม้ GAP * ประชุมเชิงปฏิบัติการที่ปรึกษาฯ * จัดทำแปลงต้นแบบ GAP กล้วยไม้ * ศึกษาดูงาน * ให้คำปรึกษาและตรวจประเมินเบื้องต้น ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่เกษตรกร *อบรมถ่ายทอดความรู้ เกษตรกรผู้ปลูกเลี้ยงกล้วยไม้/ ผู้ประกอบการ 1,200 ราย ส่งเสริมการพัฒนาพันธุ์กล้วยไม้ * แปลงรวบรวมพ่อแม่พันธุ์กล้วยไม้ * ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ * จัดทำแปลงต้นแบบการพัฒนาพันธุ์ กล้วยไม้ ส่งเสริมหมู่บ้านกล้วยไม้ *ศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพ *พัฒนาแปลงต้นแบบการผลิตกล้วยไม้ *อบรมและดูงาน *จัดเวทีแลกเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้ * ประชุมสัมมนาฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มขีดความสามารถด้านการตลาด และปรับระบบการบริหารจัดการกล้วยไม้ สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ *ประชุมคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ *ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กล้วยไม้ *ประชุมที่ปรึกษา คณะทำงาน และประสานงาน *จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก ปี 2554-2559 >> ส่งออกกล้วยไม้ได้ปีละ 10,000 ล้านบาท
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตรสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร วิธีการดำเนินโครงการ 1. ส่งเสริมสวนกล้วยไม้ GAP (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการที่ปรึกษาเพื่อจัดทำคู่มือ การให้คำแนะนำเกษตรกร (ก.) (2) จัดทำแปลงต้นแบบ GAP กล้วยไม้ (จ.) (3) นำเกษตรกรดูงานแปลงต้นแบบการผลิตกล้วยไม้ GAP (จ.) (4) ให้คำปรึกษาและตรวจประเมินเบื้องต้น (จ.)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตรสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 2. ส่งเสริมคลัสเตอร์กล้วยไม้ (1) จัดสัมมนาหน่วยงานพันธมิตรและผู้นำกลุ่มเกษตรกร (ก.) (2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการผู้นำกลุ่มเกษตรกรเพื่อสรุปบทเรียนคลัสเตอร์ต้นแบบ (จ.) (3) จัดอบรมเกษตรกรหลักสูตรการจัดทำแผนและเชื่อมโยงเครือข่าย (จ.) CLUSTER
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตรสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 3. ส่งเสริมการพัฒนาพันธุ์กล้วยไม้ (1) แปลงรวบรวมพ่อแม่พันธุ์กล้วยไม้ (ศ.) (2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้นำเกษตรกร เรื่องการพัฒนาพันธุ์ (ศ.) (3) จัดทำแปลงต้นแบบการพัฒนาพันธุ์กล้วยไม้ (จ.) 4. ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่เกษตรกร (1) จัดอบรมหลักสูตรการผลิตการตลาดกล้วยไม้(ศ.)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตรสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 5. ส่งเสริมหมู่บ้านกล้วยไม้ (1) ศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพหมู่บ้านกล้วยไม้ที่จะร่วมโครงการ (ก.) (2) พัฒนาแปลงต้นแบบการผลิตกล้วยไม้ (จ.) (3) จัดอบรมและดูงานการผลิตกล้วยไม้ (จ.) (4) จัดเวทีแลกเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้ (จ.) (5) สัมมนาแนวทางบูรณาการร่วมกับหน่วยงานราชการ และองค์กรเอกชน (ก.)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตรสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 6.สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ (1) ประชุมคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ (2) ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กล้วยไม้ (3) ประชุมที่ปรึกษา คณะทำงาน และประสานงาน (4) จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตรสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ประเด็นวัดผลโครงการ ประเด็นวัดผล 1. สวนกล้วยไม้ GAP : เกษตรกรมีการป้องกันกำจัดโรคและศัตรูกล้วยไม้ที่ถูกต้อง 2. คลัสเตอร์กล้วยไม้ : เกษตรกรมีการเชื่อมโยงเครือข่ายกับภาคธุรกิจอื่น 3. การพัฒนาพันธุ์ : เกษตรกรมีการคัดเลือกพ่อแม่และลูกผสมที่ถูกต้อง 4. หมู่บ้านกล้วยไม้ : เกษตรกรมีความรู้ด้านการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้และมีแผนพัฒนาหมู่บ้านกล้วยไม้ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกษตรกรมีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้องและเหมาะสม 2. ประเทศไทยสามารถส่งออกดอกกล้วยไม้มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 และส่งออกต้นกล้วยไม้มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ในปี 2555
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตรสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม กลุ่มส่งเสริมการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ ส่วนส่งเสริมการผลิตผัก ไม้ดอกไม้ประดับ และพืชสมุนไพร สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร โทรศัพท์:0-2940-6104, 0-2579-1501 โทรสาร:0-2579-1501 E-mail: agriman52@doae.go.th