1 / 99

แนวทาง พัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร

แนวทาง พัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร. โดย. ดร.กนก คติการ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 26 พฤศจิกายน 2556 ห้องประชุมพึ่งบุญ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. หัวข้อนำเสนอ. กระบวนการ ( Methodology) วางแผนเขตเกษตรเศรษฐกิจ ( Agro-economic Zone). ส่วนที่หนึ่ง.

inez
Download Presentation

แนวทาง พัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรแนวทางพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร โดย ดร.กนก คติการ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 26 พฤศจิกายน 2556 ห้องประชุมพึ่งบุญ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

  2. หัวข้อนำเสนอ กระบวนการ (Methodology) วางแผนเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Agro-economic Zone) ส่วนที่หนึ่ง (ภาพรวม Zoning - Supply Chain - Logistics - Cluster อุตสาหกรรมเกษตร)เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร วิธีการวางแผน (Method) เขตเกษตรเศรษฐกิจ (Agro-economic Zone) เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร ส่วนที่สอง ส่วนที่สาม การวางแผนพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรอย่างยั่งยืน

  3. ส่วนที่หนึ่ง กระบวนการ (Methodology) วางแผนเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Agro-economic Zone) (ภาพรวม Zoning - Supply Chain - Logistics - Cluster อุตสาหกรรมเกษตร) เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร

  4. อุปทานสินค้าเกษตร (Supply) ความต้องการบริโภคและโรงงานสินค้าเกษตร (Demand) อุปทานสินค้าเกษตร (Supply) ความต้องการบริโภคและโรงงานสินค้าเกษตร (Demand) ส่วนที่หนึ่ง การบริหารจัดการในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาการเกษตร ความสัมพันธ์ไม่สมบูรณ์ นำไปสู่แนวคิด ดุลยภาพ Spatial & Temporal Equilibrium

  5. ความต้องการบริโภคและโรงงานสินค้าเกษตรความต้องการบริโภคและโรงงานสินค้าเกษตร (Demand) ส่วนที่หนึ่ง อุปทานสินค้าเกษตร (Supply) ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ Input Cost ต้นทุนปัจจัยการผลิต ต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ Product Cost ต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพการผลิต (Efficiency) - ราคาผลผลิต - ผลผลิต - ต้นทุนปัจจัยการผลิต ประสิทธิผลการผลิต (Effectiveness) - ผลผลิตตามความต้อการ - ต้นทุนปัจจัยการผลิต Logistic Cost ต้นทุนในการเคลื่อนย้าย กระจายเก็บรักษา สินค้าเกษตร

  6. ส่วนที่หนึ่ง ด้านเศรษฐกิจ - การวิเคราะห์ - การวางแผน - การเข้าถึงข้อมูล Zoning ด้านสังคม - ข้อมูลด้านความ เหมาะสมในการผลิต - การตรวจสอบ ข้อมูลระดับพื้นที่ - การมีส่วนร่วม - การสร้างเครือข่าย • ข้อมูลด้าน • กายภาพ • ชีวภาพ • สิ่งแวดล้อม • สภาเกษตรกร • องค์กรเกษตรกร • เกษตรกร • Smart Farmer Agro – Economic Zone (เขตเกษตรเศรษฐกิจ)

  7. ส่วนที่หนึ่ง Logistics ด้านเศรษฐกิจ : ต้นทุน + เวลา + ความเชื่อถือ ตลอดห่วงโซ่ ต้นน้ำ – กลางน้ำ - ปลายน้ำ การจัดการ (Management)

  8. ส่วนที่หนึ่ง การจัดการ (Management) โดยพื้นฐาน จากแหล่งผลิต Physical Flow ความต้องการ (Demand) การจัดการพึ่งตนเอง (Diversify) พอประมาณ มีเหตุผลภูมิคุ้มกัน (ขาดข้อมูล) ข้อมูล Information Flow Financial Flow

  9. ส่วนที่หนึ่ง การจัดการ (Management) Zoning Contract Farming หลักการ พืชเชิงเดี่ยว โรงงาน ผู้บริโภค เครือข่าย เกษตรกร โรงงาน ความต้องการ ของผู้บริโภค Focal Firm พึ่งพา ซึ่งกันและกัน การจัดการ Logistic & Supply Chain ด้านการเกษตร

  10. ส่วนที่หนึ่ง พึ่งพาซึ่งกันและกัน โดยยึดหลัก Logistic Performance Index (LPI) ต้นทุน + เวลา + ความเชื่อถือ Information Flow Financial Flow Cluster Focal Firm พึ่งพา โรงงาน ความต้องการ ของผู้บริโภค ซึ่งกันและกัน นำไปสู่การพึ่งตนเอง ใน Cluster อย่างยั่งยืน เครือข่ายธุรกิจ สินค้าเกษตร

  11. Logistic HR กฎระเบียบ R&D โครงสร้างพื้นฐาน 4 ส่วนที่หนึ่ง พึ่งตนเองใน Cluster ในระบบ Value Chain Supporting Activities Initial Activities

  12. ส่วนที่หนึ่ง สินค้าเกษตร อาหารสัตว์ อาหาร ไม่ใช่อาหาร เคมีชีวภาพ - ข้าวโพด - มันสำปะหลัง - ยางพารา ฯลฯ • - ไขมัน (Fat & oil) • - แป้ง & น้ำตาล • - คาร์โบไฮเดรต • ผัก & ผลไม้ • - โปรตีน • - กรดอะมิโน • - ไบโอดีเซล • - เอทานอล • เอนไซม์ เช่น • โปรมีเลน Positioning ของ Focal Firm แตกต่างกัน Focal Firm เกษตรกร โรงงาน ผู้บริโภค

  13. ส่วนที่หนึ่ง การบริหารจัดการด้านการเกษตร พึ่งตนเอง พึ่งพา พึ่งพาซึ่งกันและกัน สู่การพึ่งตนเองอย่าง เป็นระบบ (Cluster) การพัฒนาการ เกษตรอย่างยั่งยืน LPI เป็น Frame work ที่สำคัญ Logistics Input cost ต้นทุน + เวลา + ความเชื่อถือ + Product cost +

  14. ส่วนที่หนึ่ง ตัวชี้วัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ 3 มิติ Time 9 กิจกรรม โลจิสติกส์ Cost Reliability 27 KPIs

  15. ส่วนที่หนึ่ง ผลการประเมินประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ (LPI) LPI - Composite Score = 5 ต้นทุน - เวลา - ความเชื่อถือ ที่มา : สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  16. ส่วนที่สอง วิธีการวางแผน (Method) เขตเกษตรเศรษฐกิจ (Agro-economic Zone) เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร

  17. ส่วนที่สอง ด้านเศรษฐกิจ - การวิเคราะห์ - การวางแผน - การเข้าถึงข้อมูล Zoning ด้านสังคม - ข้อมูลด้านความ เหมาะสมในการผลิต - การตรวจสอบ ข้อมูลระดับพื้นที่ - การมีส่วนร่วม - การสร้างเครือข่าย • ข้อมูลด้าน • กายภาพ • ชีวภาพ • สิ่งแวดล้อม • สภาเกษตรกร • องค์กรเกษตรกร • เกษตรกร • Smart Farmer Agro – Economic Zone (เขตเกษตรเศรษฐกิจ)

  18. ความต้องการบริโภคและโรงงานสินค้าเกษตรความต้องการบริโภคและโรงงานสินค้าเกษตร (Demand) ส่วนที่สอง อุปทานสินค้าเกษตร (Supply) ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ Input Cost ต้นทุนปัจจัยการผลิต ต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ Product Cost ต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพการผลิต (Efficiency) - ราคาผลผลิต - ผลผลิต - ต้นทุนปัจจัยการผลิต ประสิทธิผลการผลิต (Effectiveness) - ผลผลิตตามความต้อการ - ต้นทุนปัจจัยการผลิต

  19. ประเด็นการนำเสนอ การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต

  20. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต การวิเคราะห์ดุลยภาพระหว่างศักยภาพการผลิตเชิงพื้นที่และความต้องการผลิตผลเกษตรในอนาคต • พืชอายุสั้น (ปลูกเก็บเกี่ยวใน 1 ปี) • ข้าวมันสำปะหลัง อ้อย • วิเคราะห์บริบทของห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ประกอบกับ Separable Programming • พืชอายุยาว ไม้ยืนต้น • ยางพารา ปาล์มน้ำมัน • พื้นที่เลี้ยงสัตว์/ประมง • ไก่เนื้อ กุ้งแวนนาไม • วิเคราะห์ศักยภาพด้านกายภาพของสภาพดิน และลักษณะชีวภาพของพืชที่ทำการศึกษา โดยใช้หลักการวิเคราะห์ระบบห่วงโซ่อุปทานและระบบโลจิสติกส์ • ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์ • พื้นที่ที่เหมาะสมกับการปลูกพืชแต่ละชนิด • การเคลื่อนย้ายสินค้าเกษตรจากประเทศเพื่อนบ้านสู่ประเทศไทย • พื้นที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรมการเกษตรที่เหมาะสม

  21. ส่วนที่สอง ผลผลิต การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต ความสัมพันธ์ระหว่างสินค้าแต่ละชนิดเมื่อที่ดินเปลี่ยนแปลงไป ผลผลิต ที่ดิน Polygonal Approximation of a Separable Function ที่ดิน

  22. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต การแบ่งกลุ่มจังหวัดสำหรับ การวิเคราะห์ศักยภาพการผลิตเชิงพื้นที่

  23. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต

  24. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต เปรียบเทียบพื้นที่ปลูกและผลผลิตปี 2553 กับผลวิเคราะห์จากแบบจำลอง

  25. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต ราคาเงา (Shadow Price) มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของการใช้ที่ดิน 1 ไร่ หรือ Value Added ของการเพาะปลูกในภาคเกษตร VMP = Value of Marginal Product VMP = ประสิทธิภาพการผลิต (MPP) x P (ราคาสินค้าเกษตร) MPP = Marginal Physical of Product

  26. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต ค่าราคาเงา (Shadow Price) ของสินค้าเกษตรจากแบบจำลองพื้นฐาน (ฐานการผลิตปี 2553)

  27. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต รายได้และค่าใช้จ่ายในการผลิตรวมในการผลิตสินค้าเกษตรจากแบบจำลองพื้นฐานที่ใช้ฐานข้อมูลปี 2553 กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

  28. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิตฯ การวิเคราะห์ศักยภาพการผลิตผลผลิตการเกษตรเชิงพื้นที่ ของไทย ข้าว มันสำปะหลัง อ้อยโรงงาน ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ไก่เนื้อ กุ้ง วิเคราะห์ดุลยภาพระหว่าง ศักยภาพการผลิตเชิงพื้นที่ ต่อความต้องการผลผลิตการเกษตร วิเคราะห์ศักยภาพ การผลิตเชิงพื้นที่ ข้อเสนอแนะในการจัดสรรพื้นที่ภายในประเทศตามศักยภาพการผลิตเชิงพื้นที่ ดุลยภาพระหว่างผลผลิตเชิงพื้นที่ต่อความต้องการผลผลิตการเกษตร ภายหลังการจัดสรรพื้นที่ตามข้อเสนอแนะ ทิศทางและข้อเสนอแนะในการเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต การใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างยั่งยืนและความได้เปรียบเชิงทรัพยากรการผลิตและพื้นที่ทำการเกษตรของประเทศเพื่อนบ้าน

  29. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต วิธีการวิเคราะห์พืชที่เหมาะสมในการทดแทนข้าวเจ้านาปีในแต่ละพื้นที่ แบ่งพื้นที่เป็น 10 กลุ่มจังหวัด คัดเลือกพื้นที่ด้วยนโยบายภาครัฐ ราคาเงา คือ มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของการใช้ที่ดิน 1 ไร่ หรือ Value Added ของการเพาะปลูกในภาคเกษตร เปรียบเทียบราคาเงาเฉลี่ยรายกลุ่มจังหวัด กรณีทีมีพืชที่ผลผลิตมีแนวโน้มจะล้นตลาดภายหลังการจัดสรรพื้นที่ คัดเลือกกลุ่มจังหวัดที่เหมาะสมในการปลูกพืช โดยเรียงลำดับตามราคาเงาจากมากไปหาน้อย กรณีที่ผลผลิตมันสำปะหลังและอ้อยโรงงาน ล้นตลาดจากการปรับพื้นที ปรับเปลี่ยนพืชที่ในพื้นที่ดอนเป็นพืชชนิดอื่น เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง

  30. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต * 1 - ภาคกลางตอนบน 2 - ภาคกลางตอนกลาง 3 - ภาคกลางตอนล่าง 4 - ภาคใต้ 5 - ภาคตะวันออก 6 - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 7 - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง 8 - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 9 - ภาคเหนือตอนบน 10 - ภาคเหนือตอนล่าง

  31. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต การวิเคราะห์ความอ่อนไหว โดยปรับราคาข้าวเจ้านาปี

  32. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต พืชที่ควรส่งเสริมให้ปลูกทดแทนข้าวในแต่ละกลุ่มจังหวัด * ที่มา: ความต้องการของเกษตรกร, กรมการข้าว

  33. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต ดุลยภาพภายหลังการจัดสรรพื้นที่ ข้าว *ปีที่ 1 คือ ปี 2557

  34. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต ดุลยภาพภายหลังการจัดสรรพื้นที่ มันสำปะหลัง *ปีที่ 1 คือ ปี 2557

  35. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต ดุลยภาพภายหลังการจัดสรรพื้นที่ น้ำตาล *ปีที่ 1 คือ ปี 2557

  36. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต ดุลยภาพภายหลังการจัดสรรพื้นที่ ปาล์มน้ำมัน *ปีที่ 1 คือ ปี 2557

  37. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต ระยะสั้น (ปี 2557 – 2561) ข้อเสนอแนะในการเชื่อมโยงทรัพยากรการผลิต

  38. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต ระยะกลาง (ปี 2562 – 2566) ข้อเสนอแนะในการเชื่อมโยงทรัพยากรการผลิต

  39. ส่วนที่สอง การเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต ระยะยาว (ปี 2567 – 2576) ข้อเสนอแนะในการเชื่อมโยงทรัพยากรการผลิต

  40. ส่วนที่สาม การวางแผนพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรอย่างยั่งยืน

  41. ส่วนที่สาม คณะผู้เชี่ยวชาญของโครงการ ดร.กนก คติการ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจมหภาค (ผู้จัดการโครงการ) ดร. อรุณประภาส์ ธนกิจโกเศรษฐ์ ผศ.ดร.วิศิษฐ์ ลิ้มสมบุญชัย ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์ 1 ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์ 2 ผศ.ดร.ธนิต พุทธพงษ์ศิริพร ผศ.ดร.กนกศักดิ์ เอี่ยมโอภาส ผู้เชี่ยวชาญด้านอุตสาหกรรมเกษตร ผู้เชี่ยวชาญด้านอุตสาหกรรม นายสุรพล พรหมกสิกร นายสุชาติ แซ่โง้ว ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม

  42. ส่วนที่สาม การเปลี่ยนแปลงของโลกที่มีผลกระทบต่อระบบเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรของไทย ระบบโลกที่เปลี่ยนแปลง Knowledge & Technology Change Economy Change (Globalization) Customer Behavior Change Climate Change Natural Disaster Localization รัฐชาติลดบทบาทลง อนุรักษ์พัฒนาทรัพยากร ธรรมชาติ ความหลากหลาย ทางชีวภาพ ทุนมนุษย์ (Human Capital) การวิจัยและพัฒนา (R & D) สังคม วัฒนธรรม

  43. ส่วนที่สาม 1. ที่มาของโครงการ 2. กระบวนการศึกษาและวิจัย (Methodology) 3. การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืน 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืน 4.1 กรอบแนวคิดในการจัดทำยุทธศาสตร์ฯ 4.2ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรโดยรวม 4.3ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรรายกลุ่มอุตสาหกรรม 5. โครงการนำร่องและแนวทางการดำเนินงาน

  44. ส่วนที่สาม กระบวนการศึกษาและวิจัย (Methodology) การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ และกฎระเบียบการค้าทั้งของประเทศไทย และตลาดโลก - ทบทวนข้อมูลนโยบาย แผน/ยุทธศาสตร์ มาตรการและแนวทางการดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง - วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้ม ของอุตสาหกรรมการเกษตรของไทย อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมที่มิใช่อาหาร อุตสาหกรรมชีวภาพ การวิเคราะห์เชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรร ทรัพยากรการผลิต การใช้ประโยชน์ที่ดิน อย่างยั่งยืนและความได้เปรียบ เชิงทรัพยากรการผลิตและพื้นที่ ทำการเกษตรของประเทศเพื่อนบ้าน การวิเคราะห์ทิศทาง การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร ภายใต้ผลกระทบจากปัจจัยต่างๆ การเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันและการสร้างคุณค่า เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การพัฒนาคุณภาพ ความปลอดภัย และการยกระดับมาตรฐาน กำหนดยุทธศาสตร์ของอุตสาหกรรมการเกษตรของประเทศไทย ข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์ จัดลำดับความสำคัญของยุทธศาสตร์ การจัดทำโครงการนำร่องและแนวทางการดำเนินงาน การสร้างสภาพแวดล้อมและความเข้มแข็งให้กับปัจจัยพื้นฐาน การพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน • การศึกษาโครงการนำร่อง • การจัดกลุ่มคลัสเตอร์ (Cluster) โดยใช้หลัก Diamond Model และ Value Chain • วิเคราะห์กิจกรรมเบื้องต้น (Initial Activities) กิจกรรมสนับสนุน (Supporting Activities) • และกิจกรรมขั้นสุดท้าย (Final Activities) ในการขับเคลื่อน แผนงาน/โครงการนำร่อง

  45. ส่วนที่สาม เครื่องมือในการศึกษาและวิจัย (Methods) ประเด็นการศึกษา วิธีการศึกษา มิติการเชื่อมโยงพื้นที่ เพื่อจัดสรรทรัพยากรการผลิต การวิเคราะห์ดุลยภาพของผลผลิตการเกษตร การวิเคราะห์ศักยภาพการผลิตเชิงพื้นที่ด้วย แบบจำลองSeparable Programming และราคาเงา มิติการเพิ่มขีดความสามารถฯ วิเคราะห์โอกาสทางการตลาด ด้วย BCG Matrix วิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันด้วย RCA (Revealed Comparative Advantage Index) วิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันด้วย Diamond Model การสร้างสภาพแวดล้อมและความเข้มแข็งให้กับปัจจัยพื้นฐาน วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน แนวโน้ม และข้อเสนอแนะ ด้วยการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ มิติการพัฒนาคุณภาพ มิติการพัฒนาอุตสาหกรรม อย่างยั่งยืน การกำหนดแผนแม่บท วิเคราะห์สถานการณ์อุตสาหกรรมด้วย PEST/PESTEL Analysis และ Five Force Model และสรุปด้วย SWOT Analysis กำหนดยุทธศาสตร์ด้วย TOWS Matrix

  46. ส่วนที่สาม วิธีการรวบรวมและประมวลข้อมูล (Information Gathering) การสำรวจข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก การระดมความคิดเห็นผ่านการประชุมกลุ่มย่อย ผลการประชุม เนื้อหาการนำเสนอ ครั้งที่ 1 และ 2 กรอบการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร ข้อคิดเห็นต่อกรอบการพัฒนา ครั้งที่ 3 และ 4 ร่างแม่บทเพื่อการพัฒนา อุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืน ข้อคิดเห็นต่อแผนแม่บท

  47. ส่วนที่สาม กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนแม่บทฯ การเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน การสร้างปัจจัยพื้นฐาน มิติศึกษา การเชื่อมโยงพื้นที่ฯ การพัฒนาคุณภาพความปลอดภัยและมาตรฐาน การพัฒนาอุตสาหกรรม อย่างยั่งยืน Conceptual Framework Green Industry (Sustainable Complex) Cluster (Supply Chain Management) Research & Development Mood Consumption (Food) Innovation (Non Food & Biochemical) Investment Outcome

  48. ส่วนที่สาม ประเด็นการนำเสนอ 1. ที่มาของโครงการ 2. กระบวนการศึกษาและวิจัย (Methodology) 3. การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืน 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืน 4.1 กรอบแนวคิดในการจัดทำยุทธศาสตร์ฯ 4.2ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรโดยรวม 4.3ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรรายกลุ่มอุตสาหกรรม 5. โครงการนำร่องและแนวทางการดำเนินงาน

  49. ส่วนที่สาม 3.1 การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืน มิติการเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต 3.2 มิติการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและการสร้างคุณค่าเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ได้นำเสนอในส่วนที่สองแล้ว มิติการพัฒนาคุณภาพ ความปลอดภัย และการยกระดับมาตรฐาน 3.3 มิติการสร้างสภาพแวดล้อมและความเข้มแข็งให้กับปัจจัยพื้นฐาน 3.4 3.5 มิติการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน

  50. ส่วนที่สาม 3.1 การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืน มิติการเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต 3.2 มิติการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและการสร้างคุณค่าเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ มิติการพัฒนาคุณภาพ ความปลอดภัย และการยกระดับมาตรฐาน 3.3 มิติการสร้างสภาพแวดล้อมและความเข้มแข็งให้กับปัจจัยพื้นฐาน 3.4 3.5 มิติการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน

More Related