580 likes | 1.18k Views
สถานการณ์และแนวทางการดำเนินงาน ควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ จังหวัดมุกดาหาร. กรอบการนำเสนอ สถานการณ์โรคไข้เลือดออก แผนและแนวทางการดำเนินงานไข้เลือดออก สถานการณ์โรคคอตีบ แนวทางการดำเนินงานโรคคอตีบ. โรคไข้เลือดออก. KPI การเฝ้าระวังโรคก่อนการเกิดโรค
E N D
สถานการณ์และแนวทางการดำเนินงานสถานการณ์และแนวทางการดำเนินงาน ควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ จังหวัดมุกดาหาร
กรอบการนำเสนอ • สถานการณ์โรคไข้เลือดออก • แผนและแนวทางการดำเนินงานไข้เลือดออก • สถานการณ์โรคคอตีบ • แนวทางการดำเนินงานโรคคอตีบ
โรคไข้เลือดออก • KPI • การเฝ้าระวังโรคก่อนการเกิดโรค • - ค่า HIในหมู่บ้าน < 10 ไม่น้อยกว่าร้อยละ80 ของหมู่บ้านและชุมชนที่รับผิดชอบ (ผลงาน 70-90%) • - ค่า CI ในโรงเรียน วัด ศพด. และสถานบริการสาธารณสุข = 0 ร้อยละ 100 (ผลงาน 90-100%) 3
KPI ไข้เลือดออก ขณะเกิดโรค - มีการรายงานโรค และควบคุมโรคภายใน 24-48 ชั่วโมง หลังพบผู้ป่วย - การดูแลรักษาผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต 4
KPI ไข้เลือดออก หลังเกิดโรค - การควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ ไม่เกิดการระบาดจำนวนมาก และไม่เกิด G2 (ไม่ผ่าน พบ ๑๐ หมู่บ้าน) ประสิทธิผลการเกิดโรค - อัตราป่วยการเกิดโรคไข้เลือดออกต้องลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (ปี 55 พบผป.178 ราย อัตราป่วย 52.54 ต่อแสนปชก =ลดลง 37 % 5
กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายสัปดาห์ เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง
กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกปี ๒๕๕๕ แยกตามกลุ่มอายุ
กราฟแสดงอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก จ.มุกดาหาร ปี ๒๕๕๕ แยกรายอำเภอ
จำนวน และร้อยละของหมู่บ้านที่มีค่า HI ≤ ๑๐ แยกรายอำเภอ (เดือน ก.ย. ๒๕๕๕) (สำรวจโดยจนท.สาธารณสุขของพื้นที่ )
ร้อยละของหมู่บ้านที่มีค่า HI ≤ ๑๐ แยกรายอำเภอ (เดือน ก.ย. ๒๕๕๕) (สำรวจโดยจนท.สาธารณสุขของพื้นที่ )
จำนวนหมู่บ้านที่เกิดโรคไข้เลือดออกจำนวนหมู่บ้านที่เกิดโรคไข้เลือดออก
พื้นที่เกิด G๒ แยกรายอำเภอและหมู่บ้าน จังหวัดมุกดาหาร ปี๒๕๕๕ (ณ ๓๐ ก.ย.๕๕)
กุญแจสู่ความสำเร็จ การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืนปี ๒๕๕๖ - ๕๘ โดย... นายแพทย์จิณณพิภัทร ชูปัญญา นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร
กุญแจสู่ความสำเร็จ รู้ว่าจะไปไหน (มีเป้าหมายชัดเจน) รู้เขา รู้เรา จริงจัง จริงใจ ยึดหลักอิทธิบาท ๔ เสริมแรงจูงใจ มีหุ้นส่วนในการทำงาน (Partnerships)
รู้ว่าจะไปไหน (เป้าหมายชัดเจน)
รู้เขา รู้เรา :การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
องค์ประกอบ ๕ ด้านระดับจังหวัด • ระบบระบาดวิทยาที่ดี • มีกลไกการสนับสนุนให้อำเภอที่เข้มแข็ง • มีระบบการติดตามความ ก้าวหน้า และผลสำเร็จ • SRRT มีประสิทธิภาพ • อำเภอผ่านเกณฑ์อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งตามเป้าหมาย
จริงจัง จริงใจ วางแผน นำแผนสู่การปฏิบัติ การติดตามและประเมินผล การปรับปรุงคุณภาพงานต่อเนื่อง
KPI ที่เกี่ยวข้อง KPI หลัก ปี ๒๕๕๖ I ๑.๕ อัตราป่วยไข้เลือดออกลดลง I ๒.๓ อัตราตายด้วยโรคมะเร็งท่อน้ำดีลดลง I ๘ ความสำเร็จการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ ( ๗ ประเด็นหลัก )
KPI ที่เกี่ยวข้อง ๗ ประเด็นหลัก I ๘ (ข้อ๑) ความสำเร็จฯวัณโรค I ๘ (ข้อ๒) ความสำเร็จฯ NCD I ๘ (ข้อ๓) ความสำเร็จฯไข้เลือดออก I ๘ (ข้อ๔) ความสำเร็จฯ เอดส์ I ๘ (ข้อ๕) ความสำเร็จฯ EMS I ๘ (ข้อ๖) ความสำเร็จฯ พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี I ๘ (ข้อ๗) ความสำเร็จฯ งานSRRT
I ๑.๓ ,I ๘.๓ ไข้เลือดออก • อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ๒๐ของค่ามัธยฐาน๕ปีย้อนหลัง • ๒. ระยะที่๑ การเฝ้าระวังโรคก่อนการเกิดโรค • - ค่า (HI < ๑๐) ของหมู่บ้านและชุมชนที่รับผิดชอบ ร้อยละ ๘๐ ก่อนระบาด ร้อยละ ๙๐ • - ค่าCI ในรร. วัด ศพด. (ค่าCI= ๐) ร้อยละ ๑๐๐ 21
I ๑.๓ ,I ๘.๓ ไข้เลือดออก ๓. ระยะที่๒ ขณะเกิดโรค - ควบคุม ค่าHI=๐ ต่อเนื่องอย่างน้อย ๔ สัปดาห์ พ่นเคมีอย่างน้อย ๒ ครั้งห่างกัน ๑ สัปดาห์ มีการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน , การประชาคม/ให้ความรู้ประชาชน มีกิจกรรมรณรงค์ ) - มีการรายงานโรคให้สสจ.มุกดาหาร และทีมSRRT ในพื้นที่ภายใน ๒๔ ชั่วโมง หลังพบผู้ป่วย - ทีมSRRT ลงพื้นที่ในการสอบสวนและควบคุมโรคภายใน ๒๔ ชั่วโมง หลังพบผู้ป่วย - การดูแลรักษาผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ ไม่มีผู้เสียชีวิต 22
I ๑.๓ ,I ๘.๓ ไข้เลือดออก ๔. ระยะที่ ๓ หลังเกิดโรค การควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ - พบผู้ป่วยเพิ่มขึ้นหรือต่อเนื่อง หลังพบผู้ป่วยรายแรก ๑๔ วัน - ไม่เกิด G๒ ในพื้นที่ (พบผู้ป่วยรายใหม่หลังพบผู้ป่วยรายแรก ๒๘ วัน) 23
โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกจังหวัดมุกดาหาร ปี ๒๕๕๖ กิจกรรม สุ่มประเมินและออกสอบสวนโรค โดย - ศตม.ที่ ๗.๒ มุกดาหาร - ทีม SRRT จังหวัด - คปสอ. - สุ่มไคว่ อสม. / รพ.สต.
สถานการณ์โรคคอตีบ จังหวัดมุกดาหาร
จำนวนผู้ป่วยสะสม รายจังหวัด พ.ศ. 2555 * จังหวัดใหม่ที่พบผู้ป่วยสงสัย(ข้อมูล ณ.วันที่ 2 พ.ย 55)
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคคอตีบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคคอตีบ ๕ ระดับ สี =แดง บานเย็น ส้ม เหลือง เทา
มาตรการตามระดับพื้นที่มาตรการตามระดับพื้นที่
สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๑ ชายไทย อายุ ๔๑ ปี ๖ เดือน อยู่บ้านเลขที่ ๙๑ หมู่ ๑๔ ต.ด่านซ้าย อ.ด่านซ้าย จ.เลย ผู้ป่วยทำงานที่ ฐานทหารพรานวัดมุจริน ม.๓ บ้านหนองหล่ม ต.3โพธิ์ไทร อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร ผู้ป่วยกลับไปเยี่ยมบ้านที่ด่านซ้ายทุกเดือนประมาณ ๑ สัปดาห์ รายละเอียดดังนี้ วันที่ ๑-๗ ต.ค. ๕๕ กลับไปเยี่ยมบ้านที่ด่านซ้าย และเมื่อ ๒ เดือนก่อนมีผู้ป่วยโรคคอตีบในหมู่บ้านผู้ป่วย วันที่ ๘ ต.ค. ๕๕ กลับมาทำงานที่ ต.หนองหล่ม อ.ดอนตาล
สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๑ (ต่อ) วันที่ ๑๙ ต.ค. ๕๕ ผู้ป่วยเริ่มมีอาการไข้ เจ็บคอ ไอเล็กน้อย วันที่ ๒๐ ต.ค. ๕๕ ไปรับการรักษาที่สถานพยาบาลเอกชน ที่บ้านแก้ง อ.ดอนตาล วันที่ ๒๖ ต.ค. ๕๕ ผู้ป่วยยังมีอาการไข้บางเวลา ปัสสาวะขัด ปวดเมื่อยตามร่างกาย เข้ารับการรักษาที่รพ.ดอนตาล แรกรับผู้ป่วยไม่มีไข้ ต่อมทอนซิลโต บวม มีหนอง มีWrite Patch T= ๓๗.๑ องศา BP 120/ 80 mmHg. แพทย์สงสัยคอตีบ (มาจากพื้นที่ระบาดและมี Write Patch ) จึงส่งต่อรพ.มุกดาหาร วันที่ ๒๖-๒๘ ต.ค. ๕๕ รับการรักษาที่รพ.มุกดาหาร ผู้ป่วยอาการดีขึ้น กลับบ้านในวันที่ ๒๘ ต.ค. ๕๕ แพทย์วินิจฉัย Tonsillitis ( แต่มาจากพื้นที่ระบาด)
สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๑ (ต่อ) วันที่ ๒๙ ต.ค.- ๓ พ.ย. ๕๕ เฝ้าระวังโรคในพื้นที่ต่อเนื่อง เยี่ยมผู้ป่วย วันที่ ๔ พ.ย. ๕๕ นำผู้ป่วยมารพ.ดอนตาลเพื่อทำ Throat Swab (เพื่อยืนยันการวินิจฉัย ตามคำแนะนำ สคร.๗ อุบลราชธานี) วันที่ ๗ พ.ย.๕๕ สคร.๗ อบ.ประสานฉีด dT ผู้สัมผัส ๘ ราย วันที่ ๘ พ.ย.๕๕ ฉีด dT วันที่ ๑๐ พ.ย.๕๕ ผลLab = เป็นลบ
สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๒ หญิงไทย อายุ ๕๕ ปี อยู่บ้านเลขที่ ๑๖๕ หมู่ที่๙ บ้านหนองเอี่ยนดง ต.น้ำเที่ยง อ.คำชะอี อาชีพ ทำนา ประวัติการเจ็บป่วย - เริ่มป่วยวันศุกร์ที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ด้วยอาการ ไข้ เจ็บคอ - วันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ไปรักษาที่คลินิก หมอบอกว่าเป็น ทอลชิลอักเสบ ได้ยากกลับบ้าน - วันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ เข้ารับการรักษาที่ รพช.คำชะอี แพทย์ สงสัยคอตีบ Refer รพท. มุกดาหาร แพทย์รับเข้ารักษาเป็นผู้ป่วยใน
สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๒ (ต่อ) การรักษา วันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ๑. PGS ๒. Bromhexine ๓. paracetamol วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ฉีด Diphtheria Anti Toxin ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ๕ คน ประชากรอายุประมาณ ๔๓๑ ราย ( ๕ หมู่บ้านหนองเอี่ยนดง ) แพทย์วินิจฉัย Acute exudates tonsillitis R/O Diphtheria ประวัติการเดินทาง ช่วงก่อนป่วย ๑ เดือนที่ผ่านมา ไม่ได้เดินทางไปไหน มีแต่อยู่บ้านและไปทุ่งนา (เคยไปกทม.ในเดือนกันยายน ๒๕๕๕ ) - ทำ Throat Swab ส่ง ๕ และ ๖ พ.ย. ๕๕
สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๒ (ต่อ) มติที่ประชุม ให้คปสอ.คำชะอี และสสจ.มุกดาหาร ดำเนินการ ๑. การประชุม War room - ระดับอำเภอ ครั้งที่ ๑ วันศุกร์ที่ ๙ พ.ย. ๕๕ ครั้งต่อไป วันพุธเช้า และวันจันทร์ – วันพุธ ของทุกสัปดาห์ เป็นระยะเวลา ๑ เดือน หรือถ้าผลยืนยันพบเชื้อ ให้ดำเนินการตามมาตรการที่กรมควบคุมโรคกำหนด (รอผลประมาณสัปดาห์หน้า) - ระดับจังหวัด ให้ดำเนินการสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง(วันจันทร์ และวันพุธ ) และรายงานผลการดำเนินงานให้สคร.๗ อุบลราชธานี ทราบด้วย
สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๒ (ต่อ) ๒. Cont. Caseได้ ๑ วง ( ครอบครัว ๖ คน ) สุ่มทำใกล้ชิดจริงๆ วงที่ ๒ มีอาการทำThroat Swab ผู้มีอาการ ดำเนินการที่รพ.คำชะอี ในวันที่ ๙ พ.ย.๕๕ เก็บ๑๒ ตัวอย่าง ส่งตรวจที่ รพ.สกลนคร ให้ยาErythromycin 2 ครั้ง/วัน ในผู้สุ่ม Throat Swab ๗ วัน ถ้าผลLab เป็นลบให้หยุดยาได้ ๓. Dx +Tx = การรักษา …อายุรกรรมชาย (ห้องแยก) แพทย์วินิจฉัย Acute exudates tonsillitis R/O Diphtheria ให้ผู้ป่วยอยู่รพ.ต่ออีก ๑ สัปดาห์เพื่อรอผลLab ถ้าผล + แยกผู้ป่วย ๑๔ วัน พักที่บ้านก็ได้
สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๒ (ต่อ) ๔. Mop up ให้ดำเนินการในกลุ่มเป้าหมายอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี ในหมู่บ้านหนองเอี่ยนดง จำนวน ๔๑๘ คน คปสอ.คำชะอี กำหนดดำเนินการสำรวจ และนัดหมายฉีดวัคซีนdT เข็มแรก ในวันวันพุธ๑๔ พ.ย. ๕๕ ๕. Catch up ดำเนินการสำรวจกลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีนตามระบบปกติ ทั้งอำเภอ ในเด็กต่ำกว่า ๑๕ ปี โดยให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๒ สัปดาห์ ๖. Surveillance ทีมSRRT ดำเนินการสอบสวนโรคตามแบบสอบสวนโรคกรมควบคุมโรค ปรับล่าสุด (ตามแบบฟอร์ม ) ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและติดตามผู้สัมผัสอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๓ ชายไทย อายุ ๒๕ ปี อยู่บ้านเลขที่ ๒๗ หมูที่ ๑๒ ตำบลโพนทราย อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ประวัติการเจ็บป่วย เริ่มป่วยวันเสาร์ ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ด้วยอาการ ไข้ เจ็บคอ วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ รับเข้ารักษาเป็นผู้ป่วยนอก รพท. มุกดาหาร การรักษา๑. Bromhexine ๒. paracetamol ๓. Amoxy แพทย์วินิจฉัย Acute exudate tonsillitis R/O Diphtheria ประวัติการเดินทาง ช่วงก่อนป่วยเดินทางไปจังหวัดยโสธร (ขับรถแมคโคร) เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ๖ คน ทำ Throat Swab ส่ง ๖ พ.ย. ๕๕ มติที่ประชุม เนื่องจากผู้ป่วยรายนี้เป็นผู้ป่วยนอก แพทย์เฉพาะทาง ยังไม่พบผู้ป่วย จึงขอให้ทีมคปสอ.เมืองมุกดาหาร นำ ผป.มาพบแพทย์อีกครั้งในวันพรุ่งนี้ (๘ พ.ย. ๕๕ ) ผลวินิจฉัย tonsillitis
มติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหารมติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหาร ๑. สคร.๗ อุบลราชธานี เสนอให้พิจารณาฉีดวัคซีนในบุคลากรสธ. จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งกลุ่มงานควบคุมโรคจะได้ศึกษารายละเอียดและนำเสนอผู้บริหารต่อไป ๒. จังหวัดมุกดาหารเป็นพื้นที่ชายแดน ให้เฝ้าระวังโรคในบุคคลหรือแรงงานต่างด้าวด้วย ๓. การบริหารเวชภัณฑ์ยาในการดูแลรักษาผู้ป่วยหรือผู้สงสัยคอตีบ ให้บริหารจัดการใช้ยา ของรพ.แต่ละแห่ง ๔. การ Catch up ให้ดำเนินการทั้งจังหวัด และให้ส่งข้อมูลการสำรวจและความต้องการใช้วัคซีนให้สสจ.มุกดาหารทราบ ในวันพุธที่ ๑๔ พ.ย. ๕๕
มติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหารมติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหาร ๕.การเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ - รพ.สต. ถ้าพบผู้ป่วยมีฝ้าขาว หรือสงสัยคอตีบ ส่งรพช. / Consult แพทย์ ๖. ประชุมวิชาการคัดกรอง รักษา และการทำ Throat Swab ๗. การรักษา และส่งต่อ กรณีพบผู้ป่วย/สงสัย ให้ดำเนินการดังนี้ - รพ.สต. ถ้าพบผู้ป่วยมีฝ้าขาว หรือสงสัยคอตีบ ส่งรพช. / Consult แพทย์ - พบผู้ป่วยสงสัยที่รพช. ให้ดูแลและรักษาเอง จะส่งต่อผู้ป่วยในกรณี ๑. เป็นเด็ก อายุต่ำกว่า ๑๒ ปี ทอนซิล+ /ฝ้าขาว ๒. เป็นผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ มีอาการรุนแรง แทรกซ้อน - ถ้ารพช. ส่งต่อแจ้งศูนย์ประสานส่งต่อ รพท.ด้วย
มติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหารมติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหาร • - DAT อยู่รพท. จะส่งให้รพช.และรพท.คีย์VMI (บริหารจัดการภายในจังหวัด) ถ้ามีCase เบิกจากรพท.มุกดาหาร ได้ • ถ้ามากกว่า ๑๒ ปี จะให้แพทย์หู คอ จมูก และอายุรแพทย์ ดูให้ • ถ้าพบผู้ป่วยหรือผู้สงสัย การรายงานโรคให้รายงานทางโทรศัพท์ถึงสสจ.มุกดาหาร ทันที ที่คุณธัชชัย ใจคง หรือคุณพันธ์ฉวี สุขบัติ หรือคุณเอกชัย งามแสง • - ให้ผู้เกี่ยวข้องคีย์ข้อมูลวัคซีน dT ผ่านระบบVMI = 0ทุกรพ.
มติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหารมติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหาร - ให้โรงพยาบาลทุกแห่งทำFlow chart และสำรวจวัสดุอุปกรณ์ป้องกัน เตรียมห้องแยกให้พร้อมในทุกโรงพยาบาล - การส่งตัวอย่างส่งตรวจ Throat Swab ให้ส่งผ่านสสจ.มุกดาหารทุกครั้ง - จัดประชุมวิชาการแพทย์ พยาบาล ทีมSRRT ด้านการดูแลรักษาผู้ป่วย การทำ Throat Swab และแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรค ในวันที่ ๑๔ พ.ย. ๕๕ ณ ห้องประชุมสสจ.มุกดาหาร โดยวิทยากรจากรพท.มุกดาหารและสคร.๗ อุบลราชธานี
บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร - เปิด War room ด่วน - กำหนดแนวทางร่วมกันทั้งจังหวัด - การบัญชาการ - การรายงาน - กิจกรรม การจัดการมาตรการแต่ละราย - จัดระบบรายงาน - การพัฒนาองค์ความรู้ / เตรียมความพร้อมบุคลากร 42
บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร กำหนดแนวทางร่วมกันทั้งจังหวัด * เฝ้าระวังผู้เดินทางจากพท.เสี่ยง * เริ่มลุย ๒๖ ต.ค. ๕๕ – ปัจจุบัน * War room ทั้งจังหวัด * เบิก-สนับสนุน Media รพท. รพช * การส่งตัวอย่างส่งตรวจ (ศูนย์วิทย์ , กรมวิทย์ , รพ.สกลนคร = Set Lab รพท. มุกดาหาร ) การตามผล 43
บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร กำหนดแนวทางร่วมกันทั้งจังหวัด * การวินิจฉัยโรค * องค์ความรู้ =การเก็บ-ส่งสิ่งส่งตรวจ , การRefer ผป. การรักษา , ทีมSRRT * การประสานงาน 44
บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร • - แจ้งการเตือนภัย ระบบเฝ้าระวัง รายงานเร็ว • - แพทย์ให้ความสำคัญในการวินิจฉัย • ทำงาน กิจกรรมต้องเวอร์ จริงๆ ในการควบคุมโรค ( เร็ว ครบถ้วน ) • ข้อมูลEPI ต้องดีพอ – การเบิกจ่าย /ฉีดวัคซีน • ทำงาน24 ชั่วโมง กดดันทุกทาง • ได้องค์ความรู้ใหม่ ขอบคุณทุกส่วน 45
บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร กับการรอคอยที่ยาวนาน ก่อนทราบผลLab - ต้องทำกิจกรรมก่อนLab จะออก ให้ครบตามเกณฑ์ - ทำMop up หมู่บ้านผป.สงสัย - เก็บLab และส่งLab ผู้สัมผัส - จ่ายยา Erythro ผู้สัมผัส วง ๑ + ผู้สุ่มLab - Catch up กลุ่มเป้าหมายปกติทั้งจังหวัด - แจ้งจังหวัดใกล้เคียง 46
บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร กับการรอคอยที่ยาวนาน ก่อนทราบผลLab - รายแรกรักษา ๒๖ ต.ค. เก็บLab (อ.) ๔ พ.ย. เช้า ส่งศูนย์วิทย์ ๔ พ.ย. ๕๕ เวลา ๑๖.๓๐ น. ทราบผล อ.ที่ ๑๑ พ.ย. ๕๕ เวลา ๑๓.๒๐ น. รวม ๗ – ๘ วัน 47
บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร กับการรอคอยที่ยาวนาน ก่อนทราบผลLab - รายที่ ๒ รักษา ๕ พ.ยเก็บLab (จ.) ๕ และ๖ พ.ย. ส่งศูนย์วิทย์ ๕และ๖ พ.ย. ๕๕ เวลา ๑๗.๓๐ น.และ๑๕.๐๐ น. ทราบผล จ.ที่ ๑๒ พ.ย. ๕๕ เวลา ๑๐.๐๐ น. รวม ๗ – ๘ วัน 48
บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร กับการรอคอยที่ยาวนาน ก่อนทราบผลLab - Contract รายที่ ๒ เก็บLab (ศ) ๙ พ.ย. ส่งรพ.สกลนคร ๙ พ.ย. ๕๕ เวลา ๑๗.๓๐ น. ทราบผลเบื้องต้น อ.ที่ ๑๑ พ.ย. ๕๕ เวลา ๑๐.๐๐ น. เข้าข่ายสงสัย ๔ ราย ตรวจBio. Ch. จะทราบผล ๑๓ – ๑๔ พ.ย.๕๕ (เหลือ 3 ราย) 49
ສະພາບການເກີດລະບາດ ແລະການໂຕ້ຕອບ 50