700 likes | 866 Views
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานในระดับจังหวัด. โดย สมหมาย อุดมวิทิต ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันที่ 23 เมษายน 2553 ณ ห้องดอนเมือง 1-2 โรงแรมอมารี ดอนเมือง กรุงเทพ. หัวข้อการบรรยาย. วิสัยและเป้าหมายของ กพร. ในปี 2553
E N D
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานในระดับจังหวัดแนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานในระดับจังหวัด โดย สมหมาย อุดมวิทิต ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันที่ 23 เมษายน 2553 ณ ห้องดอนเมือง 1-2 โรงแรมอมารี ดอนเมือง กรุงเทพ
หัวข้อการบรรยาย • วิสัยและเป้าหมายของ กพร. ในปี 2553 • สภาวะการทำงานและความต้องการแรงงานระดับประเทศ • การพัฒนาแรงงานและยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับประเทศ • แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด • ถาม-ตอบข้อซักถาม
วิสัยทัศน์กรมพัฒนาฝีมือแรงงานวิสัยทัศน์กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน • เป็นองค์กรหลักในการดำเนินงานประสานและส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพกำลังแรงงานให้ได้มาตรฐาน มีเอกภาพเป็นที่ยอมรับในระดับสากล สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก
การพัฒนาแรงงานตามแผนงานปี 53 ของ กพร. กำลังแรงงาน 1.การสร้างความเชื่อมั่นและการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ 3.การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต ผู้ว่างงาน ผู้มีงานทำ ผลผลิตที่ 1 แรงงานที่ถูกเลิกจ้าง/ว่างงาน แรงงานใหม่และผู้สนใจฝึกฝีมือได้รับการพัฒนาทักษะ ส่งเสริมการประกอบอาชีพ (89,600 คน) ผลผลิตที่ 2แรงงานในระบบการจ้างงานรับการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะฝีมือที่มีมาตรฐาน(2,636,620 คน)
การพัฒนาแรงงานตามแผนงานปี 53 ของ กพร.
การพัฒนาแรงงานตามแผนงานปี 53 ของ กพร.
เป้าหมายของ กพร.ปจ. ปี 53 • การบูรณาการแผนงานที่สามารถกำหนดสัดส่วนของกลุ่มเป้าหมายในการฝึกอบรม • สัดส่วนของสาขาอาชีพที่ต้องพัฒนาฝีมือ • การรวบรวมฐานข้อมูลการฝึกอบรม/ฝึกอาชีพ ปี 2551-2552 • การติดตามผลการฝึกอบรม/ฝึกอาชีพปี 2553 พัฒนาแรงงานให้สอดคล้องกับความต้องการแรงงาน
หัวข้อการบรรยาย • วิสัยและเป้าหมายของ กพร. ในปี 2553 • สภาวะการทำงานและความต้องการแรงงานระดับประเทศ • การพัฒนาแรงงานและยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับประเทศ • แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด • ถาม-ตอบข้อซักถาม
สภาวะการทำงานของประชากร ปี 531) 1) การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร เดือนมกราคม พ.ศ. 2553 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สภาวะการทำงานของประชากร ปี 53
สภาวะการทำงานของประชากร ปี 53
สภาวะการทำงานของประชากร ปี 53
สภาวะการทำงานของประชากร ปี 53
สภาวะการทำงานของประชากร ปี 53
สภาวะการทำงานของประชากร ปี 53
ความต้องการแรงงานและแรงงานที่ขาดแคลนของ สถานประกอบการ2) 2) สำรวจความต้องการแรงงานและแรงงานที่ขาดแคลนของสถานประกอบการ ปี 2551 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ความต้องการแรงงานและแรงงานที่ขาดแคลนของ สถานประกอบการ
ความต้องการแรงงานและแรงงานที่ขาดแคลนของ สถานประกอบการ
ความต้องการแรงงานและแรงงานที่ขาดแคลนของ สถานประกอบการ
ความต้องการแรงงานและแรงงานที่ขาดแคลนของ สถานประกอบการ
ความต้องการแรงงานและแรงงานที่ขาดแคลนของ สถานประกอบการ
ความต้องการแรงงานและแรงงานที่ขาดแคลนของ สถานประกอบการ • จากที่กล่าวมาข้างต้น แสดงให้เห็นว่ายังคงมีความต้องการแรงงานและแรงงานที่ขาดแคลนอยู่ตามสมควร • ประเด็นหนึ่งที่ทำให้เกิดปัญหาแรงงานขาดแคลน คือ การที่แรงงานไม่มีคุณสมบัติหรือทักษะตามที่ สปก. ต้องการ • นอกจากนี้ จากข้อมูลสภาวะการทำงานของประชากรก็สะท้อนให้เห็นภาพที่ตรงกันข้าม คือ การที่มีแรงงานว่างงานอยู่ตามสมควร
ความต้องการแรงงานและแรงงานที่ขาดแคลนของ สถานประกอบการ • ดังนั้น จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาฝีมือแรงงานเหล่านี้ให้ตรงตามความต้องการเพื่อที่จะได้เข้าไปมีส่วนร่วมในกองกำลังแรงงาน • รวมทั้งเป็นการเพิ่มผลิตภาพการผลิตของประเทศอีกด้วย • อันจะทำให้ประเทศมีความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้นต่อไป
หัวข้อการบรรยาย • วิสัยและเป้าหมายของ กพร. ในปี 2553 • สภาวะการทำงานและความต้องการแรงงานระดับประเทศ • การพัฒนาแรงงานและยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับประเทศ • แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด • ถาม-ตอบข้อซักถาม
การพัฒนาแรงงาน • การสร้างคนให้มีความรู้ ทักษะ ฝีมือ ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน • เพื่อสร้างโอกาสการมีงานทำให้กับประชาชนที่อยู่ในวัยทำงาน • เพื่อให้รัฐสามารถนำกำลังแรงงานมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ภาระหน้าที่ที่สำคัญของการพัฒนาแรงงานคือ
การพัฒนาแรงงาน อุปสงค์ในการพัฒนา แผนพัฒนาระดับประเทศ แผนพัฒนาระดับกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ความต้องการในระดับสถานประกอบการ กำลังแรงงาน ผู้ว่างงาน ผู้มีงานทำ อุปทานในการพัฒนา หลักสูตรในการฝึกอบรมของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน หลักสูตรการฝึกอบรมของหน่วยงานอื่นๆ
การพัฒนาแรงงาน ปัจจัยที่สำคัญต่อการกำหนดทิศทางในการพัฒนากำลังแรงงานของประเทศ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ กรอบและทิศทางการพัฒนาประเทศ ต้องคำนึงถึง - สภาพเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สภาพแวดล้อม ทั้งในระดับประเทศ และระดับของประเทศต่าง ๆ ในโลกที่มีความผูกพันกันอย่างมากจากกระแสโลกาภิวัตน์ - ระบบการค้าโลกและเทคโนโลยีเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว
แนวทางการพัฒนาแรงงาน ประเทศ กลุ่มจังหวัด ระดับสถานประกอบการ จังหวัด
ยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานระดับประเทศยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานระดับประเทศ • ตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (2550-2555) • เน้นการพัฒนาโดยมุ่งให้ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ต่อเนื่องจากแผนฯ 8 และ 9 • โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพคน เช่น • เพิ่มจำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยเป็น 10 ปี • พัฒนากำลังแรงงานระดับกลางที่มีคุณภาพเพิ่มเป็นร้อยละ 60 • รายได้เฉลี่ยของแรงงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5
ยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานระดับประเทศยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานระดับประเทศ • ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในแผนฯ 10 ที่เกี่ยวข้องกับแรงงานมีดังนี้ • การพัฒนาคนให้มีคุณธรรมนำความรู้ • พัฒนาสมรรถนะและทักษะแรงงานให้รองรับการแข่งขันของประเทศ • จัดระบบการเรียนรู้ในการประกอบอาชีพทั้งในด้านความรู้ ความสามารถและทักษะที่สอดคล้องกับวิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ • การเสริมสร้างคนไทยให้อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสันติสุข • ส่งเสริมการดำรงชีวิตที่มีความปลอดภัย • เร่งขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางสังคม
นโยบายและแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2552-2554 • มีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับ กพร. ดังนี้ • นโยบายที่ 1 นโยบายเร่งด่วน • ร่วมกับภาคเอกชนในการดำเนินมาตรการชะลอการเลิกจ้างและป้องกันการขยายตัวของการเลิกจ้าง • มาตรการเร่งด่วนเฉพาะหน้าเพื่อรองรับปัญหาแรงงานว่างงานจากภาคอุตสาหกรรมและนักศึกษาจบใหม่ • นโยบายที่ 3 สังคมและคุณภาพชีวิต • พัฒนาและฝึกอบรมแรงงานทุกระดับให้มีความรู้และทักษะที่มีมาตรฐานสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานระดับกลุ่มจังหวัด/จังหวัดยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานระดับกลุ่มจังหวัด/จังหวัด • จำแนกเป็น 9 กลุ่ม 19 กลุ่มย่อย • ยุทธศาสตร์การพัฒนาแตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มจังหวัด/จังหวัด • เน้นการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ/นิเวศน์ เชิงวัฒนธรรม • เน้นการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม • เน้นการผลิตหรือแปรรูปสินค้าเกษตร/ประมง • เน้นการบริการ ศูนย์กลางการค้า/การลงทุน ศูนย์กลางการศึกษา • เน้นการเป็นศูนย์กลางการคมนาคม/โลจิสติกส์ • ฯลฯ
ความต้องการพัฒนาแรงงานในระดับสถานประกอบการความต้องการพัฒนาแรงงานในระดับสถานประกอบการ • เราควรเน้นหนักในส่วนนี้เพราะเป็นผู้ที่ใช้แรงงานจริง • สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงและยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด • ใช้ข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการสำรวจ (แบบสอบถาม) การสนับสนุนจากภาครัฐ จุดเหมาะสมในการพัฒนาฝีมือแรงงานที่ตรงตามความต้องการของเอกชนและสอดคลัองกับเป้าหมายในการพัฒนาของภาครัฐ ความต้องการของภาคเอกชน
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ) การสนับสนุนจากภาครัฐ หรือก็คือ อุปทานในการพัฒนาแรงงาน ความต้องการพัฒนาแรงงานของภาคเอกชน หรือก็คือ อุปสงค์ในการพัฒนาแรงงาน
หัวข้อการบรรยาย • วิสัยและเป้าหมายของ กพร. ในปี 2553 • สภาวะการทำงานและความต้องการแรงงานระดับประเทศ • การพัฒนาแรงงานและยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับประเทศ • แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด • ถาม-ตอบข้อซักถาม
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด1)แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด1) • ขั้นตอนที่ 1ข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็น • ข้อมูลสถานประกอบการ (ที่จำแนกตามรหัส TSIC) ทำเนียบอุตสาหกรรมจังหวัด รายชื่อโรงงานที่ได้รับมาตรฐานแรงงานไทย รายชื่อสถานประกอบการของสำนักงานประกันสังคม ธุรกิจนอกระบบ (Informal Sector) 1) ปรับปรุงจากคู่มือการวิเคราะห์ความต้องการแรงงานฝีมือ ระดับจังหวัด (SDA) กองแผนงานและสารสนเทศ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ) • ขั้นตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็น • สิ่งที่ต้องพิจารณาประกอบ • ความครอบคลุมของสถานประกอบการที่เป็นเป้าหมาย • ขอบเขตของแรงงานที่เป็นเป้าหมายในการพัฒนา
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ) • ข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ประกอบการพิจารณา • ทะเบียนข้อมูลสถานประกอบการของสำนักงานประกันสังคมจังหวัด • ข้อมูลสถานประกอบการจากการทำงานตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 • ยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับกลุ่มจังหวัด/จังหวัด
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ) • ทำการกำหนดตัวอย่างในการสำรวจ • อาจใช้สูตรในการคำนวณจำนวนตัวอย่างของ Taro Yamane • n คือ จำนวนตัวอย่างในการสำรวจ • N คือ จำนวนสถานประกอบการในจังหวัดต่างๆ • d คือ ค่าความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่าง
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ) • ตัวอย่างการคำนวณ • จังหวัด A มีจำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 30,000 ราย • ความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่างร้อยละ 5 (d=0.05)
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ) • แบ่งชั้นของประชากรออกเป็นกลุ่มๆ ตามประเภทอุตสาหกรรมและขนาดสถานประกอบการ • แต่ละประเภทอุตสาหกรรมและแต่ละขนาดสถานประกอบการต้องการการพัฒนาแรงงานที่แตกต่างกัน
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ) • สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling)
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ) • สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) • สุ่มตัวอย่างแยกกันในแต่ละกลุ่ม • อาจจะสุ่มแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) หรือสุ่มอย่างมีระบบ (Systematic Sampling) • ซึ่งจะทำให้ได้ตัวอย่างที่เป็นตัวแทนที่ดีมากสำหรับการนำมาศึกษา • อาจใช้เวลาและงบประมาณอย่างมากในการจัดเก็บ ทำอย่างไรดี?
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ) • ขั้นตอนที่ 2 จัดกลุ่มสถานประกอบการ (ลูกค้า) • กลุ่มลูกค้าเก่าหรือลูกค้าดั้งเดิม • กลุ่มลูกค้ารายใหญ่ของจังหวัด • กลุ่มลูกค้ารายสำคัญของจังหวัด • กลุ่มลูกค้ารายใหม่ • ควรพิจารณาประกอบกับข้อมูลพื้นฐานที่กล่าวมาข้างต้นเพื่อใช้ในการกำหนดกลุ่มตัวอย่างที่จะทำการสำรวจ • ควรเก็บให้ครบทุกประเภทอุตสาหกรรมและทุกขนาดสถานประกอบการ
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ) • ขั้นตอนที่ 3ลำดับความสำคัญของกลุ่มสถานประกอบการ • ให้ประเมินจากกำลังคน งบประมาณ และเวลาที่มี • “เก็บข้อมูลได้ทันที ใช้เวลาน้อย คนช่วยเก็บเยอะ” ควรเน้นเก็บจากกลุ่มลูกค้าเก่าหรือลูกค้าดั้งเดิม • “เก็บข้อมูลได้เป็นกอบเป็นกำ และใช้เวลาน้อย” ควรเน้นเก็บที่ลูกค้ารายใหญ่ของจังหวัด • “เก็บข้อมูลยากขึ้นแต่ว่านายอยากทราบ” ควรเน้นเก็บลูกค้ารายสำคัญของจังหวัด • “ต้องใช้ความพยายามในการเก็บข้อมูล แต่ผลน่าภูมิใจ” ควรเน้นเก็บกลุ่มลูกค้ารายใหม่
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ) • ขั้นตอนที่ 4 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล • แบบสำรวจทั้งฝั่งนายจ้างและลูกจ้าง • แบบสำรวจแรงงานฝีมือที่พึงประสงค์ของภาคอุตสาหกรรม • แบบสำรวจความประสงค์ที่จะพัฒนาขีดความสามารถของแรงงานไทย • ควรใช้ทั้งสองแบบควบคู่กัน • โดยการสำรวจลูกจ้างหรือแรงงานควรสำรวจอย่างน้อยร้อยละ 10 สำหรับสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดใหญ่ และทุกคนสำหรับสถานประกอบการขนาดเล็กหากเป็นไปได้ • ควรถามทั้งในสาขาและหลักสูตรในการฝึกอบรม รวมถึงทักษะที่จำเป็นในการประกอบอาชีพในสาขาดังกล่าว
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ)
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ)
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ) • ขั้นตอนที่ 5 วิธีการเก็บข้อมูลในสถานประกอบการ • ควรเน้นใช้วิธีการนัดหมายและสัมภาษณ์เป็นหลัก • หากนัดหมายยากหรือไม่สะดวกอาจใช้วิธีทอดสำรวจ (ไปส่งและนัดหมายเวลาไปรับแบบสำรวจกลับ) • ควรมีการติดตามแบบสำรวจ เพื่อเพิ่มอัตราการตอบกลับของแบบสำรวจ • วิธีที่ดีที่สุดคือการโทรศัพท์ติดตาม • ไม่ควรใช้วิธีส่งทางไปรษณีย์
แนวทางการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานระดับจังหวัด (ต่อ) • ขั้นตอนที่ 6 เก็บข้อมูลตามกำลังและความสามารถ ลูกค้าเก่า/ลูกค้าดั้งเดิม ลูกค้ารายใหญ่ของจังหวัด ลูกค้ารายสำคัญของจังหวัด ลูกค้ารายใหม่/รายเล็ก