1.48k likes | 1.8k Views
แนวทางการพัฒนาเอกสาร มคอ . : กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ ดร.มารุต พัฒผล มหาวิทยาลัยราช ภัฏ สุราษฏร์ธานี 16 มกราคม 2557. คนสองคนเดินมา คนหนึ่งเป็นคนดี คนหนึ่งเป็นคนชั่ว สองคนเป็นครูเราได้
E N D
แนวทางการพัฒนาเอกสาร มคอ. : กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ ดร.มารุต พัฒผล มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี 16 มกราคม 2557
คนสองคนเดินมา คนหนึ่งเป็นคนดี คนหนึ่งเป็นคนชั่ว สองคนเป็นครูเราได้ ขงจื๊อ
คนที่มีการศึกษา คือ คนที่มีความรักและความเกลียดอันถูกต้องLin Yutang
การเรียนแต่ไม่คิด นับว่าสูญเปล่า การคิดแต่ไม่เรียนรู้ นับว่าอันตราย ขงจื๊อ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
Thank you for your attention
I am a slow walker, but I never walk back. ข้าพเจ้าเป็นคนเดินช้า แต่ไม่เคยเดินย้อนหลัง Abraham Lincon วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
ยายสองคนนี้คุยอะไรกันยายสองคนนี้คุยอะไรกัน
“ความยุติธรรมในโลกนี้ไม่มี” จริงหรือไม่ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
โลกให้ความยุติธรรม กับมนุษยชาติ คือ เวลา ใครบริหารเวลาไม่เป็น คนนั้นเสียเปรียบ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
1. เวลาอะไรที่ดีที่สุด 2. ใครที่สำคัญที่สุด 3. อะไรสำคัญที่สุด วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
“ความสุขจากการให้ มากกว่าความสุขที่เรามี” “ความดีกับความสุขในการทำงาน” วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ภาวะผู้นำทางวิชาการ ผู้บริหาร อัตลักษณ์ คุณภาพผู้เรียน รักการสอน ครู รักผู้เรียน เอกลักษณ์ มีความยุติธรรม มีความรู้ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน มีวิธีการสอน การประเมินผล วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
คุณภาพการศึกษา คืออัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ มาจากตัวบ่งชี้การประเมินผลผลิตตามปรัชญา ปณิธาน และวัตถุประสงค์ของสถาบันการศึกษา เอกลักษณ์ จุดเด่นที่สะท้อนคุณภาพผลผลิต คือ ผู้สำเร็จการศึกษา วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
เค้าโครงการบรรยาย 1. ข้อสังเกตเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร 2. แนวทางการพัฒนารายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3) และผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ. 5) 3. แนวทางการพัฒนารายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ. 4) และผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ. 6) 4. แนวทางการรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร (มคอ. 7) วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
มาตรฐานคุณวุฒิ (มคอ.1) ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชากายภาพบำบัด พ.ศ. 2556 มาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชากายภาพบำบัด พ.ศ. 2556 มาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. 2555 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ พ.ศ. 2554 มาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ พ.ศ. 2554 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ พ.ศ. 2554 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาภาษาไทย พ.ศ. 2554 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตร 5 ปี) พ.ศ. 2554 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาการบัญชี พ.ศ. 2553 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรม พ.ศ. 2553 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาโลจิสติกส์ พ.ศ. 2552 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. 2552 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร (มคอ. 2) 1. ชื่อหลักสูตร / ชื่อปริญญา / การใช้ชื่อย่อ ที่มีประกาศของ กระทรวงศึกษาธิการ หรือพระราชกฤษฎีกาของมหาวิทยาลัยแล้ว ควรใช้ให้สอดคล้องกับประกาศดังกล่าว 2. หลักสูตรที่มีมาตรฐานคุณวุฒิ (มคอ.1) แล้ว ควรใช้ชื่อปริญญา และมาตรฐานผลการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิที่กำหนดไว้ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
3. ขาดการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนา ที่จำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตรที่เป็นปัจจุบัน เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2557 – 2559 / พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2557 4. การวิเคราะห์ผลกระทบของสถานการณ์ภายนอกยังไม่สะท้อน ศาสตร์ของหลักสูตรและอัตลักษณ์ของสถาบัน ที่แตกต่างกับ หลักสูตรสถาบันอื่น วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
หลักคิดการเขียนข้อ 11 , 12 ที่ส่งผลต่อการกำหนด ปรัชญาของหลักสูตร - สถานการณ์ภายนอก - องค์ความรู้ของศาสตร์ในสาขาวิชา - ปัจจัยภายในของสถาบัน 5. การเขียนปรัชญาควรสะท้อนความเชื่อและคุณลักษณะของ ผู้สำเร็จการศึกษาที่ออกไปสร้างสรรค์งานที่เป็นประโยชน์ และควรมีที่มาจากข้อมูลเชิงประจักษ์ จากการวิเคราะห์ สถานการณ์ภายนอกทุกด้าน วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
6. วัตถุประสงค์ของหลักสูตรเขียนเป็นผลลัพธ์การเรียนรู้ สอดคล้องกับปรัชญาและมาตรฐานคุณวุฒิ 7. แผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร ควรเขียนกลยุทธ์สำคัญๆ สะท้อนคุณภาพของหลักสูตร และระบุหลักฐานตัวบ่งชี้ ที่สามารถวัดได้อย่างสอดคล้องกับผลสำเร็จของการ ปรับปรุงหลักสูตร 8. ปัญหาของนิสิตแรกเข้าควรเป็นข้อจำกัดที่แท้จริง ไม่ระบุปัญหาโดยทั่วไป 9. จำนวนหน่วยกิตควรกำหนดให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิ (มคอ.1) เป็นหลัก วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
10. คำอธิบายรายวิชากับจำนวนชั่วโมงที่กำหนดไว้ไม่สอดคล้องกัน 11. คำอธิบายรายวิชาไม่สะท้อนสาระสำคัญที่แท้จริง - ถ้าใช้คำกริยาขึ้นต้นควรใช้ให้เหมาะสมกับระดับการศึกษา และธรรมชาติวิชา - ถ้าไม่ใช้คำกริยาควรเขียนในลักษณะที่เป็นคำนาม หรือวลี ไม่เขียนเป็นประโยค 12. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต ควรเขียนให้เห็น คุณลักษณะพิเศษที่โดดเด่น วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
13. การพัฒนามาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน ควรเขียนให้ชัดเจน และเป็นประเด็นหลักๆ เพื่อนำไปจัดทำ มคอ.3 14. การวิเคราะห์แผนที่กระจายความรับผิดชอบของหลักสูตร ควรวิเคราะห์ภาระรับผิดชอบที่แท้จริงเป็นความรับผิดชอบหลัก วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3) ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการของแต่ละรายวิชา เพื่อให้การจัด การเรียนการสอนสอดคล้องและเป็นไปตามที่วางแผนไว้ มีประเด็นสำคัญดังนี้ 1. วัตถุประสงค์และรายละเอียดของเนื้อหาความรู้ในรายวิชา 2. แนวทางการปลูกฝังทักษะต่างๆ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆ 3. รายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาที่ใช้ในการเรียน วิธีการเรียนการสอนการวัดและประเมินผลในรายวิชา 4. หนังสือสื่อทางวิชาการอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ 5. ยุทธศาสตร์ในการประเมินและปรับปรุงรายวิชา วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
สาระสำคัญของรายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3) หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล * หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
หลักการพัฒนา มคอ. 3 1. สอดคล้องกับ main concept ของคำอธิบายรายวิชา ใน มคอ. 2 2. สอดคล้องกับ curriculum mapping ใน มคอ. 2 วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
ระบบการจัดทำรายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3) คำอธิบายรายวิชา Curriculum mapping วัตถุประสงค์ของรายวิชา จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ. 5) การวัดและประเมินผล
ความหมายของหน่วยกิตกับเวลาและการสอนความหมายของหน่วยกิตกับเวลาและการสอน ลส๗๐๑ กระบวนทัศน์ใหม่ในการพัฒนาหลักสูตร 3(3 – 0 – 6) หน่วยกิต บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตนเอง เวลาเรียน 1 ปีการศึกษา มี 2 ภาคเรียน 1 ภาคการศึกษา มี 18 สัปดาห์ สอบกลางภาค/ปลายภาค 1 สัปดาห์ วันหยุด/กิจกรรม 1 สัปดาห์ เวลาใช้สอนจริง มี 16 สัปดาห์ จำนวนชั่วโมงที่ใช้สอนจริง บรรยาย = 16 x 3 = 48 ชั่วโมง ปฏิบัติ = 0 ศึกษาด้วยตนเอง = 16 x 6 = 96 ชั่วโมง วิชัย วงษ์ใหญ่: 2557
ลส701 กระบวนทัศน์ใหม่ในการพัฒนาหลักสูตร 3(3 – 0 – 6) ศึกษาวิเคราะห์แนวคิด หลักการ ฐานคิดของการพัฒนาหลักสูตรในยุคปัจจุบัน วิเคราะห์ทฤษฎีและรูปแบบหลักสูตรที่สำคัญ การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับ การพัฒนาหลักสูตร การวิเคราะห์สิ่งกำหนดหลักสูตรเป็นสารสนเทศในการ ออกแบบหลักสูตรของแต่ละรูปแบบการศึกษาที่สอดคล้องกับภูมิสังคม การสอบทานหลักสูตร การวางแผนหลักสูตร การบริหารจัดการหลักสูตร การจัดการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนรู้ ระบบการประเมินและปรับปรุง หลักสูตร ภาวะผู้นำและคุณธรรมจริยธรรมของนักพัฒนาหลักสูตร ในฐานะวิชาชีพหนึ่งที่ต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 วิชัย วงษ์ใหญ่: 2557
การวิเคราะห์จุดเน้นของรายวิชาเพื่อกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้การวิเคราะห์จุดเน้นของรายวิชาเพื่อกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ รายวิชา ลส๗๐๑ กระบวนทัศน์ใหม่ในการพัฒนาหลักสูตร 3(3 – 0 - 6) มาตรฐานผลการเรียนรู้ ด้านที่ 1 ด้านที่ 2 ด้านที่ 3 ด้านที่ 4 ด้านที่ 5 คำอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห์แนวคิด หลักการ ฐานคิดของการพัฒนาหลักสูตร ในยุคปัจจุบัน วิเคราะห์ทฤษฎีและรูปแบบหลักสูตรที่สำคัญ การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร การวิเคราะห์ สิ่งกำหนดหลักสูตรเป็นสารสนเทศในการออกแบบหลักสูตร ของแต่ละรูปแบบการศึกษาที่สอดคล้องกับภูมิสังคม การสอบทานหลักสูตร การวางแผนหลักสูตร การบริหารจัดการหลักสูตร การจัดการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนรู้ ระบบการประเมินและปรับปรุงหลักสูตร ภาวะผู้นำและคุณธรรมจริยธรรมของนักพัฒนาหลักสูตรในฐานะวิชาชีพหนึ่ง ที่ต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคม วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
ความคิดรวบยอด (Concept) หมายถึง ลักษณะร่วมที่สำคัญของสิ่งหนึ่งสิ่งใด ขาดองค์ประกอบใดไม่ได้ สามารถนำไปสรุปอ้างอิงได้ (generalization) เช่น ดอกไม้ประกอบด้วย กลีบดอก เกสร และก้านดอก ฟังก์ชัน คือ เซตของคู่อันดับที่สมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำกัน องค์ประกอบของหลักสูตร คือ จุดประสงค์ กิจกรรม การประเมินผล วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
ภาวนามยปัญญา การเชื่อมโยงองค์ความรู้ ปัญญา (Wisdom) สุตมยปัญญา ความรู้ (Knowledge) สารสนเทศ (Information) บริบท ข้อมูล (Data) ทั่วไป ความคิดรวบยอด (Concept) การ สังเคราะห์ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
การเรียนรู้ที่ฝังลึก Deep Knowledge 1. ข้อมูล 2. หัวข้อ 3. SUB CONCEPT 4. MAIN CONCEPT Deep Knowledge วิชัย วงษ์ใหญ่: 2557
ความลึกและมีเสน่ห์ สองอย่างนี้สำคัญมาก ลึกก็สำคัญไม่แพ้เสน่ห์ ความมีเสน่ห์นี้จะทำให้ ผู้เรียนอยากเรียนรู้หรืออยากจะค้นคว้าต่อ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
ขุดบ่อไม่ลึก ไม่ถึงน้ำใส นำด้านลึกมาสร้างแสงสว่าง เป็นประโยชน์แก่สังคม ปัจจุบันเรียกว่า “องค์ความรู้” วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
การสังเคราะห์ข้อมูล (Synthesis) สิ่งแตกต่างดูเหมือน เข้ากันไม่ได้ เข้าถึงแก่น (สาระ) โดยไม่มีความขัดแย้ง นำมารวมภายใต้ แกนเดียวกัน วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
การสังเคราะห์ ความสามารถสำรวจแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย รู้ว่าอะไรสำคัญควรแก่ความสนใจ และนำข้อมูลทั้งหมดมาประสานกันได้อย่างมีเหตุผล สำหรับตนเองและผู้อื่น วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
เมอเรย์ เกล แมนน์ (Marray Gell Mann) กล่าวว่า ใครที่รู้จักสังเคราะห์ข้อมูลให้ตัวเองได้เก่ง จะกลายเป็นบุคคลแนวหน้า และสามารถสังเคราะห์ข้อมูล ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ จะเป็นครู นักสื่อสาร และผู้นำที่มีคุณค่า วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
การสรุปเป็นหลักการ ความคิดรวบยอด (Concept) ความคิดรวบยอด (Concept) ความคิดรวบยอด (Concept) การถักทอ / สอดผสาน Weaving หลักการ (Principle)
หลักการ 1 2 3 หลักการ 1 2 3 หลักการ 1 2 3 ทฤษฎี (Theory)
3(3 - 0 - 6) 16 x 16 x 16 x 48 0 96 3 1 2 4 5 6 7 8 9 10 = 48 / 10 = 4.8 ชั่วโมง จำนวนชั่วโมงเฉลี่ยแต่ละ Concept ผู้สอนสามารถปรับลด หรือเพิ่มได้ตามความเหมาะสม วิธีการสอน Team – based Learning Discovery Learning Research – based Learning After Action Review Storytelling วิชัย วงษ์ใหญ่: 2557
ลส701 กระบวนทัศน์ใหม่ในการพัฒนาหลักสูตร 3(3 – 0 – 6) สาระ สำคัญ จำนวนชั่วโมง วิธีการจัดการเรียนรู้ บรรยาย ศึกษาด้วยตนเอง 1 2 3 4 5 การใช้เรื่องเล่า / การสืบเสาะหาความรู้ / การเรียนรู้ที่เน้นทีม / การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / การถอดบทเรียน การสืบเสาะหาความรู้ / การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / การถอดบทเรียน การเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน / การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / การถอดบทเรียน การเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน / การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / การถอดบทเรียน การเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน / การเรียนรู้ที่เน้นทีม / การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / การถอดบทเรียน 6 3 9 3 3 12 6 18 6 6 วิชัย วงษ์ใหญ่: 2557
สาระ สำคัญ จำนวนชั่วโมง วิธีการจัดการเรียนรู้ บรรยาย ศึกษาด้วยตนเอง 6 7 8 9 10 การเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน / การเรียนรู้ที่เน้นทีม / การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / การถอดบทเรียน การเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน / การเรียนรู้ที่เน้นทีม / การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / การถอดบทเรียน การเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน / การเรียนรู้ที่เน้นทีม / การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / การถอดบทเรียน การเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน / การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / การถอดบทเรียน การใช้เรื่องเล่า / การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / การถอดบทเรียน รวม 6 18 12 6 6 96 3 9 6 3 3 48 วิชัย วงษ์ใหญ่: 2557
จากการจัดทำรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) ลส701 กระบวนทัศน์ใหม่ในการพัฒนาหลักสูตร นำมาสร้างเครื่องมือการวัด 4 ชนิด ซึ่งรายละเอียด ของเครื่องมือวัดทั้ง 4 ชนิดจะปรากฏใน มคอ.5 1. แบบทดสอบ 2. แบบประเมินชิ้นงาน 3. แบบสังเกต 4. แบบประเมินตนเอง วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
องค์ประกอบของเครื่องมือการวัดองค์ประกอบของเครื่องมือการวัด 1. ชื่อของเครื่องมือวัด 2. คำชี้แจง 3. รายการวัด 4. เกณฑ์การให้คะแนน 5. เกณฑ์การประเมิน 6. ผู้ประเมิน (ตนเอง เพื่อน ผู้สอน ผู้เกี่ยวข้อง) วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
การประเมินที่เสริมพลังตามสภาพจริงการประเมินที่เสริมพลังตามสภาพจริง (Empowerment Evaluation) วิชัย วงษ์ใหญ่: 2557
หลักการวัดและประเมินผลที่เสริมพลังตามสภาพจริงหลักการวัดและประเมินผลที่เสริมพลังตามสภาพจริง (EmpowermentEvaluation) 1. ตนเอง การปฏิบัติ การทดสอบ หลายช่วงเวลา หลายช่วงเวลา หลายช่วงเวลา รายงานตนเอง การสื่อสาร การสังเกต หลายช่วงเวลา 2. ผู้สอน 3. ผู้เกี่ยวข้อง การสะท้อนผลการประเมิน วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
สิ่งใดที่วัดไม่ได้ก็ปรับปรุงพัฒนาไม่ได้สิ่งใดที่วัดไม่ได้ก็ปรับปรุงพัฒนาไม่ได้ If you can’t measure, You can’t improve. การประเมินไม่ใช่การพิสูจน์แต่เป็นการปรับปรุงพัฒนา Evaluation is not to prove, but to improve. (Ebel, R.L. (1979). Essential and Education Measurement. 2nd. New jersey : Prentice Halls.) วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557
Assessment for learning การประเมินเพื่อการเรียนรู้ (ระหว่างทาง) Assessment as learning การประเมินขณะเรียนรู้ (ประเมินตนเอง) Assessment of learning การประเมินผลการเรียนรู้ (ปลายทาง) Feed – up การแจ้งวัตถุประสงค์ / ภาระงาน Motivation สร้างแรงจูงใจภายใน Checking for understanding ตรวจสอบความรู้พื้นฐาน Feedback ให้ผลย้อนกลับ Feed – forward ให้แนวทางการพัฒนาต่อยอด วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2556
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน Feed – up Motivation ขั้นสอน Checking for understanding Feedback ขั้นสรุป Feed – forward Feedback (students / teachers) Reflection Development วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2556
Original Bloom’s vs Revised Bloom’s Taxonomy Evaluation Creativity Synthesis Evaluation Analysis Analyzing Comprehension Understanding Knowledge Remembering Original Version Revised Version Anderson, David and Kralhwohl. 2001 วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2556
กลุ่มที่ ………... ชื่อผู้เรียน 1. ………………. 2. ………….………… 3. ……………….. 4. …………..……….. วัน ……. เดือน ……….. ปี ………... คำชี้แจง บันทึกการปฏิบัติงานของผู้เรียนแต่ละคนในกลุ่มตามเกณฑ์ที่ระบุ โดยเขียนเลขระบุระดับคุณภาพ ให้ 3 คะแนน เมื่อปฏิบัติได้ด้วยตนเอง และสามารถให้ความช่วยเหลือเพื่อนได้ ให้ 2 คะแนน เมื่อปฏิบัติได้ด้วยตนเองภายหลังได้รับคำแนะนำ ให้ 1 คะแนน เมื่อปฏิบัติได้เมื่อศึกษาตัวอย่างประกอบ เลขที่ผู้เรียน (กรอกเลขที่ข้างบน) รายการ เลขที่ 1 เลขที่ 2 เลขที่ 3 เลขที่ 4 1. แสดงความเข้าใจปัญหา 2. วางแผนและลงมือปฏิบัติ 3. ใช้ความพยายามในการแก้ปัญหา 4. อธิบายวิธีการแก้ปัญหา 5. แสดงผลการแก้ปัญหาได้อย่างชัดเจน รวมคะแนน 15 คะแนน แบบประเมินการแก้ปัญหา วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2557