220 likes | 408 Views
นิสิตพยาบาล มมส. เข้าใจ ก้าวไกลสู่ ประชาคมอาเซียน. รศ.ดร.ดรุณี รุจกรกานต์ คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน 2555. One Vision. One Identity. One Community. ข้อมูลที่น่ารู้ของประเทศในอาเซียน. จำนวนประชากรของแต่ละประเทศ ไทยอยู่อันดับที่ 4.
E N D
นิสิตพยาบาล มมส. เข้าใจ ก้าวไกลสู่ ประชาคมอาเซียน รศ.ดร.ดรุณี รุจกรกานต์ คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน 2555 รศ.ดร.ดรุณี รุตกรกานต์
One Vision One Identity One Community
ข้อมูลที่น่ารู้ของประเทศในอาเซียนข้อมูลที่น่ารู้ของประเทศในอาเซียน จำนวนประชากรของแต่ละประเทศ ไทยอยู่อันดับที่ 4 รศ.ดร.ดรุณี รุตกรกานต์
3 Pillars AEC ASCC APSC
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน: 3 เสาหลัก ปี2546ผู้นำอาเซียนลงนามในปฏิญญาบาหลีแสดงเจตนารมณ์สู่ ASEAN Community ในปี 2563 (2020) ต่อมาได้เร่งรัดให้เร็วขึ้นเป็นปี 2558 ปี 2550รมต. เศรษฐกิจอาเซียนลงนามรับรอง AEC Blueprint แผนงานการจัดตั้ง “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” AEC พ.ย. 2550 ผู้นำอาเซียนลงนามใน “ASEAN Charter”และ “ปฏิญญาว่าด้วยแผนงานการจัดตั้ง AEC” ยืนยันดำเนินการให้สำเร็จตามกำหนดในปี 2558 ตุลาคม 2552 ไทยเสนอแนวคิดการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกัน ปี 2553 ผู้นำอาเซียนได้ให้การรับรอง Master Plan on ASEAN Connectivity ประชาคมการเมืองและความมั่นคง พัฒนาทางการเมือง คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ร่วมมือป้องกันทางทหารและความมั่นคงอาเซียน เพื่อความสงบสุข เป็นเอกภาพ สงบสุข และแข็งแกร่ง ASEAN Charter: กรอบทางกฎหมายและทางสถาบันของอาเซียน เพิ่มทบาทสำนักงานเลขาธิการอาเซียน กำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการในอาเซียน ฯลฯ) ประชาคมการเมืองและความมั่นคง (APSC) ประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน พัฒนามนุษย์ สวัสดิการสังคม ลดความยากจน ส่งเสริมผู้ด้อยโอกาส สร้างอัตลักษณ์อาเซียน พัฒนาสังคมผ่านกรอบอนุภูมิภาค แก้ปํญหาสิ่งแวดล้อม ตลาด/ฐานการผลิตเดียว ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน มีการพัฒนาที่เท่าเทียม และบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ประชาคมเศรษฐกิจ (AEC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASCC) MPAC: แผนแม่บทสร้างความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน กฎ ระเบียบ และประชาชน สนับสนุนการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 3
Master plan on ASEAN Connectivity ประชาคมอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ประชาคมการเมืองและความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจ • การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดี่ยว • การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน • การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค • การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก • การพัฒนามนุษย์ • การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม • สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม • ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม • การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน • การลดช่องว่างทางการพัฒนา • มีกติกาและมีการพัฒนาค่านิยมและบรรทัดฐานร่วมกัน • เป็นประชาคมที่มีเอกภาพ • เป็นประชาคมที่ก่อให้เกิดพลวัติในภูมิภาค และเน้นการสร้างหุ้นส่วนกับนอกภูมิภาค 4
ความร่วมมือด้านการสาธารณสุขในอาเซียนที่ผ่านมาความร่วมมือด้านการสาธารณสุขในอาเซียนที่ผ่านมา ดำเนินการผ่านกลไกความร่วมมือ 3 ระดับ 1 การประชุมระดับรัฐมนตรีสาธารณสุขอาเซียน 2 การประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการพัฒนาสาธารณสุข • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา • ความร่วมมือด้านป้องกันโรค มีการดำเนินงานเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง จากการระบาดของโรคซาร์ มีการแบ่งหน้าที่ในการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง/ควบคุมโรค โดยประเทศไทยได้รับมอบหมายให้พัฒนาเครือข่ายการเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อ • ความร่วมมือทางวิชาการ ประเทศสมาชิกได้ร่วมมือช่วยเหลือกันในการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านที่ตนเองมีความเชี่ยวชาญ --การควบคุมโรคติดต่อ - การควบคุมและป้องกันโรคเอดส์ - การพัฒนายา - ด้านความปลอดภัยของอาหาร - ด้านการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดใหญ่ - การควบคุมยาสูบ 3 การประชุมคณะทำงาน/ผู้เชี่ยวชาญ 6ด้าน 2 คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและระบบสุขภาพการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและระบบสุขภาพ ASCC Health System AEC ASPC ระบบการสร้างเสริม/ส่งเสริมสุขภาพ 1 2 ระบบบริการสุขภาพ • เข้าถึงการบริการทางการแพทย์และยาที่เพียงพอและราคาถูก • ส่งเสริมให้ประชาชนดำรงชีวิตที่มีสุขภาพสมบูรณ์ • เคลื่อนย้ายบริการด้านสุขภาพเสรี • เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี:สาขาแพทย์ พยาบาล • ทันตแพทย์ 3 ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระบบการควบคุม/ ป้องกันโรค 4 • บูรณาการแนวทางการป้องกัน เฝ้าระวัง ควบคุม และสนองตอบที่ทันเวลาเพื่อแก้ปัญหาโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ • ความมั่นคงทางอาหาร • ความปลอดภัยด้านอาหาร 8
ผลกระทบต่อระบบสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพ • อุปสงค์ที่ขยายตัวจากผู้เข้ารับบริการต่างชาติ และผลประกอบการที่เพิ่มขึ้นของธุรกิจบริการสุขภาพไทย และผลกระทบที่กระจาย(Spill-over effect) ไปยังธุรกิจอื่น • ค่าตอบแทนบุคลากรสาธารณสุขไทยที่เพิ่มขึ้น จากการประกอบอาชีพในประเทศอื่น • การขยายเพดานสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนอาเซียนเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 70 • โอกาสการนำเข้าบุคลากรสาธารณสุขจากกลุ่มประเทศอาเซียน ผลกระทบเชิงบวก • การแก่งแย่งทรัพยากรสาธารณสุขระหว่างชาวไทยและชาวต่างชาติ • การลดลงของอุปทานบุคลากรสาธารณสุขผู้มีทักษะสูงในประเทศ • การลดลงของการถือครองสัดส่วนธุรกิจของชาวไทยเนื่องจากการเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศ • ความหลากหลายของมาตรฐานบริการสุขภาพ ผลกระทบเชิงลบ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ 4
ผลกระทบต่อระบบสุขภาพ การป้องกัน/ควบคุมโรค ผลกระทบเชิงบวก • ขยายความร่วมมือในทุกระดับ ทั้งทวิภาคีและพหุภาคีด้านบุคลากร ความรู้ และเทคโนโลยีการเตือนภัย เพื่อพัฒนาระบบรองรับภัยพิบัติ • การพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน • เพิ่มประสิทธิภาพระบบการให้ความช่วยเหลือ และรองรับความช่วยเหลือ ที่สามารถดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว ตลอดจนช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการฟื้นฟูการเฝ้าระวัง และควบคุมโรคหลังเกิดภัยพิบัติ ผลกระทบเชิงลบ ความขัดแย้งและการขาดความเชื่อมั่นทางการเมืองระหว่างประเทศสมาชิกบางประเทศ อาจเป็นอุปสรรคในการประสานความร่วมมือในการดำเนินงาน คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ 5
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ 12
Medical professional services • Cross-border trade in medical professional services - temporary migrant workers by firms in another country - hired by foreign hospitals 13
Nurses move in from other countries to richer countries (Singapore, Malaysia, Thailand, Brunei) • Two of the largest source countries of healthcare professionals The Philippines Indonesia 14
Healthcare industry • Services of medical professionals (แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ กายภาพบำบัด เภสัช) • Health services hospitals, medical lab, residential health care 15
Production and Supply • Healthcare goods • Health Medical Organizations (Medical care equipment /technology suppliers, health insurance companies) • Medical professional services • Health services (Facilities-based) เช่น โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ โรงพยาบาลกรุงเทพ • Medical, Dental and Nursing Schools 16
Medical professional services Cross - border trade in medical professional services ย้ายเข้า-ย้ายออก ไปทำงาน - government placement agency - บริษัทหางานเอกชน - โรงพยาบาลต่างชาติ 17
การวิเคราะห์สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาพยาบาลการวิเคราะห์สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาพยาบาล สถานการณ์หลักที่เกี่ยวโยงกับ AEC • Trans-border movement of low-skilled workers • Movement of professional workers • Standards of health care/professionals • Classification system for workers 18
ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21ที่ต้องการมีตลอดชีวิต R = 3R x 7CR = Reading R = (W)Riting R = (A) Rithmetics รศ.ดร.ดรุณี รุตกรกานต์
7 CCritical thinking + Problem SolvingCreativity + InnovationCross cultural understanding Collaboration , teamwork + Leadership รศ.ดร.ดรุณี รุตกรกานต์
7 CCommunications, information + media literacy Computing + ICT LiteracyCareer + Learning skill รศ.ดร.ดรุณี รุตกรกานต์