610 likes | 1.21k Views
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 20 มีนาคม 2557. มาตรการและเครื่องมือที่จุฬาฯ นำมาใช้ ในการป้องกันการลักลอกผลงานวิชาการ. จุฬาฯ 100 ปี ต้องไม่มี Plagiarism. ต้นสาย - ปลายทางของวิทยานิพนธ์. ทำการทดลอง เก็บข้อมูล วิเคราะห์ ผล. เขียนวิทยานิพนธ์. ตรวจสอบ Plagiarism. ห้องสมุด CUIR.
E N D
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 20 มีนาคม 2557
มาตรการและเครื่องมือที่จุฬาฯ นำมาใช้ในการป้องกันการลักลอกผลงานวิชาการ
จุฬาฯ 100 ปี ต้องไม่มี Plagiarism
ต้นสาย-ปลายทางของวิทยานิพนธ์ต้นสาย-ปลายทางของวิทยานิพนธ์ • ทำการทดลอง • เก็บข้อมูล • วิเคราะห์ผล • เขียนวิทยานิพนธ์ • ตรวจสอบPlagiarism • ห้องสมุดCUIR • บัณฑิตวิทยาลัย
ประเด็นปัญหาในการทำวิทยานิพนธ์ประเด็นปัญหาในการทำวิทยานิพนธ์ การลักลอกผลงานทางวิชาการ การจ้างทำวิทยานิพนธ์
เรียนรู้/ป้องปราม ดีกว่า ติดตาม/ตรวจสอบ
3 มาตรการป้องกันการลักลอกผลงานวิชาการ
1. มาตรการสร้างจิตสำนึก • แจกเอกสารแนะนำและอบรมนิสิตเกี่ยวกับ “Plagiarism”ตลอดจนมาตรการการตรวจสอบ • เปิดรายวิชา “จริยธรรมการวิจัย” เป็นรายวิชาเรียนออนไลน์ ที่นิสิตทุกคนต้องลงทะเบียนและสอบผ่าน • อบรมอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
เอกสารแนะนำและอบรมนิสิตเกี่ยวกับ “Plagiarism”
จัดโครงการอบรม“การปฏิบัติหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์”จัดโครงการอบรม“การปฏิบัติหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์” • ครั้งที่ 1 : พ.ค. 2556 / 108 คนครั้งที่ 2 : ต.ค. 2556 / 48 คน • ครั้งที่ 3 : ม.ค. 2557
เปิดรายวิชา “จริยธรรมการวิจัย” เนื้อหารายวิชาจริยธรรมการวิจัยในระบบ Blackboard มีทั้งหมด 8 บทเรียน ดังนี้ บทนำ บทที่ 1 การวิจัยและจริยธรรมการวิจัย บทที่ 2 การได้มาซึ่งข้อมูลและการจัดการข้อมูล บทที่ 3 การเป็นเจ้าของงานประพันธ์และการ ตีพิมพ์ บทที่ 4 การประพฤติผิดทางการวิจัย บทที่ 5 การใช้สัตว์ทดลองในการวิจัย บทที่ 6 พี่เลี้ยงในงานวิจัยและงานวิจัยร่วม บทที่ 7 ภาวะส่วนตัว การถือเป็นความเฉพาะ และผลประโยชน์ขัดกัน บทที่ 8 กระบวนการตรวจสอบจริยธรรมการ วิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. มาตรการป้องปราม • กำหนดให้นิสิตส่งแบบรายงานความก้าวหน้าและแผนการทำวิทยานิพนธ์ทุกภาคการศึกษา • กำหนดให้นิสิตเขียนวิทยานิพนธ์ด้วยโปรแกรม “CU E-THESIS”
การกำหนดให้นิสิตเขียนวิทยานิพนธ์ด้วยโปรแกรม “CU E-THESIS”
ปัญหา - การเขียนวิทยานิพนธ์ • เขียนวิทยานิพนธ์ • รูปแบบการเขียน (Format) ผิดเพี้ยน จากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง • หน้าแรก/หน้าลายเซ็นกรรมการ/สารบัญ มักผิดบ่อย • เอกสารอ้างอิงไม่ถูกต้องสมบูรณ์ • อาจารย์ที่ปรึกษาพบปัญหาเมื่อสายเกินไป • Digital File ของวิทยานิพนธ์ที่ส่งให้ห้องสมุดมีหลากหลาย version ยุ่งยากในการสร้าง Metadata
E-THESIS กลไกที่สำคัญ และประโยชน์ที่หลากหลาย การทดลอง เก็บข้อมูล วิเคราะห์ผล รูปแบบของวิทยานิพนธ์ (Format) สร้างฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบ (Database) การเชื่อมโยงฐานข้อมูลกับห้องสมุดและสำนักงานการทะเบียน ตรวจ Plagiarism ได้ง่าย ส่งเสริมการเรียนรู้เรื่อง Plagiarism นิสิตและอาจารย์ทำงานใกล้ชิดกัน สร้างฐานข้อมูลสารนิพนธ์
อบรมการใช้งาน CU E-THESIS เริ่มใช้ระบบจริง ครั้งที่ 1 อบรม 2 วันวันละ 2 รอบ = 4 รอบ(9-10 ก.ค. 56) ครั้งที่ 2อบรม ½ วัน(28 พ.ย. 56) ก่อนเริ่มใช้ระบบ
ขั้นตอนการส่งวิทยานิพนธ์ขั้นตอนการส่งวิทยานิพนธ์
3. มาตรการติดตาม/ตรวจสอบ • โปรแกรม Turnitin • โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์
ปัญหา - การตรวจสอบการลักลอกผลงาน • ตรวจสอบPlagiarism • โปรแกรม Turnitinไม่เหมาะสมในการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ที่เขียนเป็นภาษาไทย • ค่าใช้จ่ายสูง (ประมาณ 960,000 บาท/ปี) • ค่อนข้างยุ่งยากในการใช้งาน
การเชื่อมโยงของระบบ วิทยานิพนธ์
ข้อดี E-THESIS + อักขราวิสุทธิ์ นิสิต • มี template สำหรับการเตรียมวิทยานิพนธ์ที่ถูกต้อง • ส่งงานอาจารย์ที่ปรึกษาผ่านระบบ • ระบบป้องกันข้อมูลสูญหาย/ได้รับความเสียหาย • ข้อมูลพื้นฐานถูกต้อง ครบถ้วนและทันสมัย • ขั้นตอนการนัดสอบวิทยานิพนธ์และส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์กระชับขึ้น • ป้องกัน Plagiarism โดยไม่เจตนา
ข้อดี E-THESIS + อักขราวิสุทธิ์ อาจารย์ • หมดภาระในการตรวจสอบรูปแบบการพิมพ์วิทยานิพนธ์ และข้อมูลพื้นฐาน • ตามงานนิสิตผ่านระบบ และร่วมตรวจสอบ Plagiarism อย่างใกล้ชิด • ทราบที่มาของข้อมูล/ป้องกันการจ้างทำวิทยานิพนธ์
ข้อดี E-THESIS + อักขราวิสุทธิ์ หน่วยงาน • ประหยัดเวลาและทรัพยากรในการตรวจสอบรูปแบบการพิมพ์วิทยานิพนธ์ และข้อมูลพื้นฐาน • ส่งต่อ/แบ่งปันข้อมูล และนำข้อมูลไปใช้ได้ทันที • ความเสี่ยงของการมีวิทยานิพนธ์ที่เข้าข่าย Plagiarism ลดลง • มีข้อมูลในการบริหารจัดการวิทยานิพนธ์ตลอดเวลา
การดำเนินการ เริ่มใช้งานจริง CU-eThesis ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2556 วิทยานิพนธ์ ประมาณ 700-800 เล่ม
ฐานข้อมูลของอักขราวิสุทธิ์ฐานข้อมูลของอักขราวิสุทธิ์ • วิทยานิพนธ์ (จุฬาฯ) 8,500 10,000 + 2,500 เล่ม/ปี • สารนิพนธ์ (จุฬาฯ)2,000 รายการ/ปี (ปี 2557) • วารสาร (จุฬาฯ)20+ วารสาร (ปี 2557) • รายงานวิจัย (CUIR)1,000 รายการ (ปี 2557) • CU e-Book (จุฬาฯ) 100 รายการ (ปี 2557) • Wikipedia • ฐานข้อมูลอื่นๆ
สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไปสิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป • กำหนดให้สารนิพนธ์ต้องใช้ E-THESIS และ อักขราวิสุทธิ์ • ปรับปรุงพัฒนาโปรแกรมทั้งสองให้ดีขึ้น • ขยายฐานข้อมูล • เปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัยอื่นใช้ได้ด้วย
ตรวจสอบสารนิพนธ์ของจุฬาฯ ทั้งหมด • ภาคต้น 2556 • เพิ่มฐานข้อมูลวารสารของจุฬาฯ • เพิ่มฐานข้อมูล CU e-Book • เพิ่มฐานข้อมูล Wikipedia และอื่นๆ • จุฬาฯ ใช้ทั้งมหาวิทยาลัย • เพิ่มฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์เป็น 15,000 รายการ • พร้อมให้มหาวิทยาลัยอื่นใช้โปรแกรมและฐานข้อมูลของจุฬาฯ TIME FRAME • มกราคม-มีนาคม 2557 • ภาคต้น2557 • ภาคต้น 2557
ขอขอบคุณทีมงานพัฒนาโปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ขอขอบคุณทีมงานพัฒนาโปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ • ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ - รองศาสตราจารย์ ดร.วิวัฒน์ วัฒนาวุฒิ - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติรัตน์ รัตนามหัทธนะ - ดร.วิชญ์ เนียรนาทตระกูล - นายไพโรจน์ ลีลาภัทรกิจ • ศูนย์วิจัยการประมวลผลภาษาและวัจนะ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ -รองศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ อรุณมานะกุล
ขอขอบคุณทีมงานพัฒนา CU E-THESIS บริษัท แฟคเกอร์ จำกัด • นายธีรยุทธ โกสินทร์ • นายวรพล ว่องวณิชพันธุ์ • นายพรเทพ ปฏิพงศ์วัฒนา • นายวรินทร์ พรใบหยก • นายพงษ์พัฒน์ เป้าเพชร์ • นางสาวนันทนัช ตั้งปัญจศิล
บรรยากาศงานแถลงข่าว 26 สิงหาคม 2556
ให้สัมภาษณ์ทางสถานีโทรทัศน์ให้สัมภาษณ์ทางสถานีโทรทัศน์ รายการ “ข่าว 5 หน้า 1”ช่อง 5 รายการ “คุยโขมงข่าวเช้า” ช่อง 9
หน่วยงานที่สนใจและศึกษาดูงานหน่วยงานที่สนใจและศึกษาดูงาน • ม.นเรศวร28ม.ค. 57 • สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์25ก.พ. 57 • ม.อีสเทิร์นเอเชีย30 ส.ค. 56 • ม.แม่โจ้13 ธ.ค. 56 • มรภ.อุดรธานี19 ธ.ค. 56 • ม.มหิดล20 ธ.ค. 56 • มหาวิทยาลัยรามคำแหง • ปี 2557 • มรภ.เลย23 ก.ย. 56 • ม.ศิลปากร19 ก.ค. และ 15 ต.ค. 56 • ปี 2556